วันจันทร์ที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2565

วันอาทิตย์ที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2565

อันดับความสำคัญของเรา

อันดับความสำคัญของเรา ที่ควรเป็นคือ
๑. ธรรมะ
๒. วิชา

อันดับ ๑ ควรเป็นธรรมะ เพราะทำให้ถูกต้องและดีได้
อันดับ ๒ ควรเป็นวิชา เพราะวิชาจะทำให้อยู่ได้

ธรรมที่ชนะความโลภ ความโกรธ ความหลง

ธรรมที่ชนะความโลภ ความโกรธ ความหลงได้ คือ
- ความถูก ธรรมะ
- ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม
- วิชา
- ความพอเหมาะ ทางสายกลาง
- ความไม่เป็นกิเลส

การให้ทานอย่างไม่หวังผลตอบแทน

การให้ทานอย่างไม่หวังผลตอบแทน
"สามารถให้ทานธรรม รูป หรือนาม อย่างถูกหลักธรรม ถูกหลักวิชา ไม่เบียดเบียน ไม่หวังผลตอบแทนให้ตนเอง ไม่เป็นกิเลส ได้"

การกระทำ และหวังผลตอบแทน
"การกระทำใดๆ ก็ตาม เราสามารถหวังผลตอบแทนให้ตนเองอย่างไม่เป็นกิเลส หรือไม่หวังผลตอบแทนให้ตนเอง ได้"
"เราควรกระทำทั้ง ๒ แบบ คือหวังผลตอบแทนให้ตนเองอย่างไม่เป็นกิเลส หรือไม่หวังผลตอบแทนให้ตนเอง ตามความเหมาะสม"

การคิด การกระทำ ทางสายกลาง

การคิด
"ควรคิดอย่างเป็นทางสายกลาง คิดอย่างพอเหมาะพอดีด้วยความถูก ธรรมะ วิชา ไม่คิดมากเกิน ไม่คิดน้อยเกิน แล้วลงมือปฏิบัติอย่างถูกต้อง"
"การพัฒนาตนเอง จะสามารถทำให้คิดได้มากขึ้น มีคุณภาพดีขึ้น อย่างมีขอบเขต เป็นทางสายกลาง" 
ย่อ
"ควรคิดอย่างเป็นทางสายกลาง ไม่คิดมากเกิน ไม่คิดน้อยเกิน"

การกระทำ
"กระทำในทางที่ถูกที่ดีอย่างเป็นทางสายกลาง กระทำอย่างพอเหมาะพอดีด้วยความถูก ธรรมะ วิชา ไม่ตึงเกิน ไม่หย่อนเกิน ไม่มากเกิน ไม่น้อยเกิน"
​​​​​​"การพัฒนาตนเอง จะสามารถทำให้กระทำในทางที่ถูกที่ดีได้มากขึ้น มีคุณภาพดีขึ้น อย่างมีขอบเขต เป็นทางสายกลาง"
ย่อ
"กระทำในทางที่ถูกที่ดีอย่างเป็นทางสายกลาง ไม่ตึงเกิน ไม่หย่อนเกิน ไม่มากเกิน ไม่น้อยเกิน"

ยอม ยอมรับ การเชื่อ

ยอม ยอมรับ
"ยอมความถูกความดี ยอมรับความถูกความดี น้อมนำความถูกความดีมาปฏิบัติ"
"ไม่ควรยอมความผิดความไม่ดี ไม่ควรนำความผิดความไม่ดีมาปฏิบัติ"

การเชื่อ
"เชื่อ ในความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม เหตุผล ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความตรง ความจริง ความจริงใจ วิชา การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"เชื่อ ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม เหตุผล ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความตรง ความจริง วิชา การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
ย่อ
"เชื่อในความถูก เชื่อด้วยความถูก"

การวางแผน

"วางแผน ปฏิบัติตามแผน ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความรอบคอบ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความตรง ความจริง วิชา ความรู้ การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันเสาร์ที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2565

การรู้จักอภัย

"การรู้จักอภัยให้ ทั้งตนเองหรือผู้อื่น อย่างถูกต้อง จะทำให้เราสบายใจ ปลอดโปร่ง เบาใจ ไม่ยึดติด ไม่ทุกข์ใจ"

ส่วนบุคคล ส่วนรวม

ส่วนบุคคล ส่วนรวม
"ไม่ก้าวล่วงส่วนบุคคลของผู้อื่น แต่สามารถน้อมนำ นำพา ช่วยเหลือ สนับสนุนเขาในทางที่ถูกที่ดีได้"
"เมื่อจะใช้ส่วนรวม ไม่ควรละเมิดส่วนบุคคลของผู้อื่น"

การน้อมนำ นำพา ช่วยเหลือ สนับสนุน
"น้อมนำ นำพา ช่วยเหลือ สนับสนุนด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความตรง ความจริง ความจริงใจ วิชา การรู้จักวางเฉย การรู้จักออกจาก ความไม่หลง ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

การยินดีกับผู้อื่น

"ยินดีในความถูกความดีของผู้อื่น"
"ยินดีเมื่อผู้อื่นได้ดีมีความสุข"

วันศุกร์ที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2565

ความสุขที่แท้จริง

"ความสุขที่แท้จริง คือ ความสุขจากความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
ย่อ
"ความสุขที่แท้จริง คือ ความสุขจากความถูกความดี"
"ความสุขที่แท้จริง คือ ความสุขจากความไม่เป็นอธรรม ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันพฤหัสบดีที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2565

การสละ

"สละเพื่อความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ด้วยธรรมะ ความเพียร การไม่เบียดเบียนตนเองหรือผู้อื่น วิชา ทางสายกลาง"
"สละในสิ่งที่ยังไม่ได้ไปก่อน"
"สละในสิ่งที่ไม่ได้"

การวางใจเป็นกลาง วางเฉย

"การวางใจเป็นกลาง วางเฉย ทำได้โดยการใช้วิชา ไม่เอนเอียง ไม่ยึดติด ไม่ยึดมั่นถือมั่น วางเฉย ทางสายกลาง"
"การวางใจเป็นกลาง วางเฉย กระทำไปกับการไม่กังวล"
"ควรวางใจเป็นกลาง วางเฉยได้กับทุกๆ สิ่งทั้งรูปหรือนาม ด้วยทางสายกลาง"

ส่วนประกอบของทุกสิ่ง

ส่วนประกอบของสิ่งต่างๆ ประกอบไปด้วยรูป หรือนาม
รูป นาม จัดจำแนกอีกอย่างได้เป็น พื้นฐาน รูปในที่นี้หมายเป็นรูปธรรมที่ไม่ใช่พื้นฐาน อรูปหรือนามธรรม ธรรม

ความเห็นตามจริง

"ควรมีความเห็นตามจริงว่า สิ่งไหนเป็นสิ่งที่ถูกต้อง สิ่งไหนเป็นสิ่งที่ผิด"
"ควรมีความเห็นตามจริงว่า สิ่งไหนเป็นสิ่งที่ดี สิ่งไหนเป็นสิ่งที่ไม่ดี"
"ควรมีความเห็นตามจริงว่า สิ่งไหนกระทำแล้วทำให้เกิดความสุข สิ่งไหนกระทำแล้วทำให้เกิดความทุกข์"
"ควรมีความเห็นตามจริงว่า สิ่งไหนกระทำแล้วทำให้มี อยู่ได้ สิ่งไหนกระทำแล้วทำให้ไม่มี อยู่ไม่ได้"
"ควรมีความเห็นตามจริงว่า การกระทำแบบไหนทำให้แก้ปัญหาได้ การกระทำแบบไหนทำให้แก้ปัญหาไม่ได้"

สร้างความสุข

"สามารถสร้างความสุขที่ถูกหลักธรรมให้ตนเอง หรือผู้อื่น ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม วิชา ทางสายกลาง"
"สามารถสร้างและมีความสุขที่แท้จริงที่ถูกหลักธรรม ถูกหลักธรรมฝ่ายดีงาม ถูกหลักวิชา เป็นทางสายกลาง"

เมตตา

เมตตา คือ ธรรมที่ทำให้เกิดความถูก ความดี ได้ดี มีความสุข
มีเมตตา คือ มีความปรารถนา ปฏิบัติให้เกิดความถูก ความดี ได้ดี มีความสุข

"มีเมตตาต่อตนเองหรือผู้อื่น ด้วยความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ทางสายกลาง และวางเฉยได้"

สิ่งที่ไม่ควรเพิ่ม ไม่ควรกู้คืน

"ไม่ควรเพิ่มให้อธรรม หรือกิเลส"
"ไม่ควรกู้คืนอธรรม กิเลสเพื่อนำมาใช้ หรือพึ่งพาต่อ"

การไม่ปฏิบัติ ไม่สะสมความผิดความไม่ดี

"ไม่ปฏิบัติ ไม่สะสมความผิดความไม่ดีเอาไว้เลย"

ธรรมะในการอยู่อาศัยร่วมกัน

ธรรมะในการอยู่อาศัยร่วมกัน คือ
- มีศีลธรรม
- มีความเพียร
- มีวิชาที่ถูกต้อง
- เป็นกลาง
- เป็นธรรม
- ซื่อสัตย์
- ซื่อตรง
- ให้ รับ อย่างถูกต้อง รู้คุณแทนคุณ อย่างถูกต้อง

ศีลธรรม คือ ความประพฤติที่ดีที่ชอบ, ศีลและธรรม

แนวกลาง ๓ แนว

แนวกลาง ๓ แนว คือ
- แนวกลางที่เอนไปทางผิดหรือไม่ดีนิดๆ เป็นสิ่งที่ไม่ควรปฏิบัติ
- แนวกลางจริงๆ ไม่เอน เป็นสิ่งที่ปฏิบัติได้
- แนวกลางที่เอนไปทางถูกหรือดีนิดๆ เป็นสิ่งที่ปฏิบัติได้

สามารถตั้งหลักด้วยแนวกลางจริงๆ ไม่เอน หรือแนวกลางที่เอนไปทางถูกหรือดีนิดๆ ได้

ถูก คือ ถูกหลักธรรม ถูกคลองธรรม ถูกหลักวิชา ถูกกฎของธรรมชาติ
ผิด คือ ผิดหลักธรรม ผิดคลองธรรม ผิดหลักวิชา หรือผิดกฎของธรรมชาติ

แนวบวก แนวกลาง แนวลบ

"ควรปฏิบัติแนวบวก แนวกลาง แนวลบที่ไม่เป็นอธรรม อย่างไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง ไม่ควรปฏิบัติแนวลบที่เป็นอธรรม"
"ควรทำจิตใจให้เป็นแนวบวก หรือแนวกลาง อย่างไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"
"ควรขึ้นไปอยู่ อาศัยอยู่ที่แนวกลาง หรือแนวบวก อย่างไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"
"สามารถตั้งหลักด้วยแนวบวก แนวกลาง อย่างไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง ได้"
"ควรให้แนวบวก แนวกลาง แนวลบ มีขนาดไม่เกินขีดจำกัด"
"แนวบวกเกิดจากการมีอิสระโดยความตรง ซื่อสัตย์ ซื่อตรง สุจริต เป็นกลาง เป็นธรรม จริงใจ ไม่เบียดเบียน"
"แนวบวก แนวกลางเกิดจากการมีอิสระโดยการไม่คด ไม่โกง ไม่ลำเอียง ไม่เอาเปรียบ ไม่เห็นแก่ตัว ไม่เบียดเบียน"
"การก้าวไปข้างหน้าด้วยแนวบวก จะต้องก้าวควบคู่ไปกับแนวกลาง และแนวลบ อย่างเป็นวิชา ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส"

"กิเลสไม่ใช่แนวบวก ไม่ใช่แนวกลาง กิเลสเป็นแนวลบอย่างเป็นอธรรม"
"ความไม่เป็นกิเลสเป็นแนวกลาง เป็นแนวบวก หรือเป็นแนวลบอย่างไม่เป็นอธรรม"

แนวบวก คือ แนวบวกที่ถูกหลักธรรม ถูกหลักธรรมฝ่ายดีงาม ถูกคลองธรรม ถูกหลักวิชา ถูกกฎของธรรมชาติ
แนวกลาง คือ แนวกลางที่ไม่บวกและไม่ลบ
แนวลบที่ไม่เป็นอธรรม ใช้สำหรับการวางเฉย ปล่อยวาง หรือออกจาก ใช้ในการระบายสิ่งที่สิ้นสุดการใช้ ใช้การไม่ได้แล้ว ระบายสิ่งที่ผิดพลาด เสียหาย หรือล้มเหลว ทิ้งไป
แนวลบที่เป็นอธรรม คือ แนวลบที่ผิดหลักธรรม ผิดคลองธรรม ผิดหลักวิชา หรือผิดกฎของธรรมชาติ

เกี่ยวกับโอกาส

"หาโอกาส คว้าโอกาส กู้คืนโอกาส คว้าโอกาสคืน ซ่อมแซมโอกาส รักษาโอกาส ใช้โอกาสให้ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความตรง วิชา ความไม่เป็นกิเลส ด้วยทางสายกลาง"
"หาโอกาส คว้าโอกาส กู้คืนโอกาส คว้าโอกาสคืน ซ่อมแซมโอกาส รักษาโอกาส ใช้โอกาสอย่างเป็นความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความตรง วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"เมื่อพลาดโอกาสไปแล้ว ควรไม่ยึดมั่นถือมั่น ควรวางเฉย สละ แล้วตั้งหลักใหม่"

การฟื้นคืน นำมาใช้ต่อ กู้คืน นำกลับมาใช้ใหม่

"ฟื้นคืน นำมาใช้ต่อ กู้คืน หรือนำกลับมาใช้ใหม่ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ฟื้นคืน กู้คืนความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ด้วยทางสายกลาง"

การกระทำ ๔ จุด

"ในการกระทำใดๆ ก็ตาม ควรกระทำครบทั้ง ๔ จุด คือ 
พื้นฐาน รูปในที่นี้หมายเป็นรูปธรรมที่ไม่ใช่พื้นฐาน อรูปคือนามธรรม ธรรม หรือรูป นาม 
อย่างถูกหลักธรรม ถูกหลักธรรมฝ่ายดีงาม เป็นความดีงาม ถูกหลักวิชา ถูกกฎของธรรมชาติ มีขีดจำกัด ไม่ยึดติด ไม่ยึดมั่นถือมั่น ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"

สมบัติรูป สมบัตินาม

สมบัติรูป คือ สมบัติในส่วนที่เป็นรูป
สมบัตินาม คือ สมบัติในส่วนที่เป็นนาม

"ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ความไม่มีกิเลส ทางสายกลาง เป็นสิ่งที่มีค่ามากกว่าสมบัติรูป สมบัตินามที่ไม่ใช่ขันธ์"
"ขันธ์ของมนุษย์ เป็นสิ่งที่มีค่ามากกว่าสมบัติรูป สมบัตินามที่ไม่ใช่ขันธ์"
"สมบัติรูป สมบัตินามเป็นสิ่งที่จำเป็นจะต้องใช้ในตอนยังอยู่"
"สามารถหา มี ใช้ เก็บสมบัติรูป สมบัตินามอย่างสุจริต มีสติ ไม่เป็นกิเลสได้"
"ควรหา เรียง ทำ สร้าง จัดการ เก็บ ใช้ ให้ แบ่งปันสมบัติรูป สมบัตินามอย่างถูกหลักธรรม ถูกหลักธรรมฝ่ายดีงาม เป็นความดีงาม ถูกหลักวิชา ถูกกฎของธรรมชาติ เป็นประโยชน์ต่อตนเองหรือผู้อื่น พอเหมาะ มีสติ ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"
"ควรหา เรียง ทำ สร้างสมบัติรูป สมบัตินาม อย่างพอเหมาะ ไม่มากเกิน ไม่น้อยเกิน"
"ไม่ยึดติด ไม่ยึดมั่นถือมั่นในสมบัติรูป สมบัตินามทั้งปวง"
"ไม่ควรหา ใช้ เก็บสมบัติรูป สมบัตินาม อย่างเป็นอธรรม เป็นโทษต่อตนเองหรือผู้อื่น ขาดสติ หรือเป็นกิเลส"
"ไม่ควรเบียดเบียนผู้อื่น หรือตนเอง เนื่องจากต้องการมีหรือใช้สมบัติรูป สมบัตินาม"

การเก็บเอาไว้ นำมาใช้
"การเก็บเอาไว้โดยการแปลงพื้นฐาน รูปหรือรูปธรรม อรูปหรือนามธรรม ธรรม ไปเป็นสมบัติรูป สมบัตินาม อย่างเป็นธรรมะ เป็นวิชา ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส แล้วเก็บเอาไว้
การนำที่เก็บไว้มาใช้โดยการแปลงสมบัติรูป สมบัตินามที่เก็บไว้ ไปเป็นพื้นฐาน รูปหรือรูปธรรม อรูปหรือนามธรรม ธรรม ต่อมาแปลงไปเป็นธรรม อย่างเป็นธรรมะ เป็นวิชา ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส แล้วนำมาใช้"

มีปัญญา รอบคอบ ไม่ประมาท

มีปัญญา
"มีปัญญา ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความจริง วิชา การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

รอบคอบ ไม่ประมาท
"มีความรอบคอบ ไม่ประมาท ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม วิชา การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันจันทร์ที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2565

ไม่ควรหลงใหล

ไม่ควรหลงใหล
"ไม่ควรหลงใหล ใช้อธรรม วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส ควรเข้าหา ใช้ธรรมะ วิชา ความไม่เป็นกิเลส"

วันพฤหัสบดีที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2565

ธรรมที่ทำให้โลกเป็นโลกที่ดี เจริญ

"ธรรมที่ทำให้โลกเป็นโลกที่ดี เจริญ คือ ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา การรู้จักวางเฉย การรู้จักออกจาก การรู้จักให้รู้จักรับ การรู้จักสละ ความอิสระ ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

ย่อ
"ธรรมที่ทำให้โลกเป็นโลกที่ดี เจริญ คือ ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันพุธที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2565

โอบอ้อม อารี รักษาจิตใจ

โอบอ้อม อารี รักษาจิตใจ
"โอบอ้อม อารี รักษาจิตใจตนเอง รักษาจิตใจผู้อื่น รักษาจิตใจกัน ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

การมีสุขภาพจิตที่ดี
"มีสุขภาพจิตที่ดีได้ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา การรู้จักวางเฉย การรู้จักออกจาก การรู้จักให้รู้จักรับ การรู้จักสละ ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันอาทิตย์ที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2565

สิ่งที่ควรให้ถูกต้องและดีอยู่

สิ่งที่ควรให้ถูกต้องและดีอยู่ คือ
- สัญชาตญาณ
- จิตใต้สำนึก
- จิตสำนึก
- ความเห็น
- เจตนา
- ความคิด
- การกระทำ
- การจัดการ และการแก้ปัญหา

ถูกต้อง หมายถึง ถูกหลักธรรม ถูกคลองธรรม ถูกหลักวิชา

วันพุธที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2565

เป็นเพื่อน เป็นมิตรกับธรรมะ

"เป็นเพื่อน เป็นมิตรกับความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"จริงใจ ซื่อสัตย์ ซื่อตรงต่อความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันจันทร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2565

การกระทำต้นทาง

"การกระทำต้นทางคือการทิ้งอธรรม สละอธรรม แล้วตั้งหลักด้วยธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความเป็นกลางในสภาวธรรม"

ประสบการณ์

ประสบการณ์
"มีประสบการณ์ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความจริง วิชา การรู้จักวางเฉย การรู้จักออกจาก ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ประสบการณ์จะทำให้เราพัฒนา ก้าวหน้าในทางที่ถูกที่ดีได้"

ยึดถือจนเกินไป
"ไม่ควรยึดถือจนเกินไป"

การทำตามลำดับความสำคัญหรือความจำเป็น
"ควรกระทำจุดที่สำคัญหรือจำเป็นก่อน แล้วกระทำจุดที่เป็นรายละเอียดตามมา"

การใช้ แบ่งปัน

"หา เรียง ทำ สร้าง เก็บพื้นฐาน รูปในที่นี้หมายเป็นรูปธรรมที่ไม่ใช่พื้นฐาน อรูปคือนามธรรม ธรรม หรือรูป นาม อย่างถูกต้อง ด้วยธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

"ใช้พื้นฐาน รูปในที่นี้หมายเป็นรูปธรรมที่ไม่ใช่พื้นฐาน อรูปคือนามธรรม ธรรม หรือรูป นาม อย่างถูกต้อง เป็นประโยชน์ พอเหมาะ ด้วยธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

"แบ่งปันพื้นฐาน รูปในที่นี้หมายเป็นรูปธรรมที่ไม่ใช่พื้นฐาน อรูปคือนามธรรม ธรรม หรือรูป นาม ให้ตนเองหรือผู้อื่น อย่างถูกต้อง จริงใจ ด้วยธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"แบ่งปันธรรมะ วิชา ให้ผู้อื่นด้วยธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

การเลือก อธิษฐาน

"เลือกความถูกความดี ความไม่มีกิเลส
อธิษฐานที่จะทำถูกทำดี ไม่มีกิเลส"

การทำ
"ทำเพื่อความถูก"

การนำทาง
"ให้ความถูกนำทางให้เรา"

การตั้งหลัก
"ตั้งหลักด้วยความถูกความดี ความไม่เป็นกิเลส"
"ตั้งหลักด้วยธรรมชาติฝ่ายที่ถูกที่ดี"

การพึ่งพา พึ่งพิง
"พึ่งพา พึ่งพิงธรรมชาติฝ่ายที่ถูกที่ดี"

เป้าหมาย
"มีเป้าหมายเป็นความถูกต้อง ความดีงาม ความไม่มีกิเลส"

การหวังผลตอบแทน

"เมื่อกระทำแล้ว สามารถหวังผลตอบแทนให้ตนเองหรือผู้อื่น อย่างมีค่า เป็นธรรมะ ถูกหลักวิชา ถูกกฎของธรรมชาติ ไม่เป็นกิเลส ไม่ยึดติด ได้"
"เมื่อกระทำแล้ว สามารถไม่หวังผลตอบแทน แต่หวังผลให้ธรรมะ ความถูกความดี ตนเองหรือผู้อื่น อย่างมีค่า เป็นธรรมะ ถูกหลักวิชา ถูกกฎของธรรมชาติ ไม่เป็นกิเลส ได้"

ความไตร่ตรอง ความพิจารณา

"ไตร่ตรอง พิจารณา ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม คุณธรรม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา ความรู้ ความจริง ความตรง ความไม่เบียดเบียน ความมีเหตุผล ความรอบคอบ ความไม่หลง ความไม่ยึดติด ความไม่ยึดมั่นถือมั่น การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

รู้จักการแก้ไข ปรับปรุง

"รู้จักการแก้ไข ปรับปรุง อย่างมีคุณต่อผู้อื่นหรือตนเอง ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม คุณธรรม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา ความรู้ ความจริง ความตรง ความไม่เบียดเบียน ความมีเหตุผล ความรอบคอบ ความไม่หลง ความไม่ยึดติด ความไม่ยึดมั่นถือมั่น การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

แรงใจ พลังใจ

"ให้ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความซื่อสัตย์ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม การรู้คุณแทนคุณ ความตรง ความจริง ความจริงใจ วิชา การไม่เบียดเบียน ความพอเหมาะ การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง เป็นแรงใจ พลังใจให้เรา"
"ไม่ควรให้มีแรงใจ พลังใจในการทำผิดทำไม่ดี"

ย่อ
"ให้ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความถูกความดี วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง เป็นแรงใจ พลังใจให้เรา"

การออกจากสิ่งที่กำลังทำ

"เมื่อเราต้องการที่จะหยุด หยุดพัก เราสามารถออกจากสิ่งที่กำลังคิดหรือกระทำในส่วนที่ต้องการจะหยุด หยุดพักนั้นๆ ได้"
"ออกจาก ด้วย ความถูก สติ วิชา การวางเฉย ความไม่เป็นกิเลส"
"การหยุดพัก ควรหยุดพักอย่างพอควร"

อยู่กับวิชา

"ควรอยู่กับวิชา ควรปฏิบัติอย่างถูกต้องต่อวิชา โดยไม่หลง รู้จักการวางเฉย ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"
"สามารถอยู่กับวิชาและเรียนรู้จากวิชาได้ด้วยทางสายกลาง"

การกระทำที่ควร

"การกระทำที่ควร คือ
กระทำอย่างเป็นประโยชน์ต่อผู้อื่นหรือตนเอง กระทำอย่างไม่เบียดเบียน กระทำอย่างถูกหลักวิชา ใช้วิชา กระทำอย่างไม่เป็นกิเลส"

การได้

"ควรได้ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา การไม่เบียดเบียน การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ได้ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา การไม่เบียดเบียน การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ได้มาแล้วควรรู้จักใช้อย่างเป็นประโยชน์ รู้จักเก็บ รู้จักให้อย่างเป็นประโยชน์ รู้คุณ แทนคุณ โดยเป็นวิชา ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"

พลัง กำลังในการทำถูกทำดี

พลัง กำลังในการทำถูกทำดี
"การปฏิบัติความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง จะทำให้เรามีพลัง มีกำลังในการทำถูกทำดี ไม่ทำผิดไม่ทำไม่ดี ได้"

การทำถูกทำดี
"การทำถูกทำดี คือการกระทำด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความตรง ความพอเหมาะ ความจริง ความจริงใจ วิชา การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

การกะ ประมาณ

"รู้จักการกะ ประมาณว่าสิ่งไหนมากเกิน สิ่งไหนน้อยเกิน สิ่งไหนพอดี พอเหมาะ"
"รู้จักการกะ ประมาณรูป นาม ด้วยวิชา ธรรมชาติ ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"รู้จักการกะ ประมาณรูป นามในส่วนที่เกี่ยวกับตนเอง"
"รู้จักกะ ประมาณตนเอง กระทำอย่างพอเหมาะ เหมาะสมกับตนเอง เป็นทางสายกลาง"
"การหมั่น ทดลอง ฝึกฝนตนเอง ฝึกฝนด้วยการปฏิบัติจริง จะทำให้เราสามารถปฏิบัติได้มากหรือมีคุณภาพดีขึ้น"

วันเสาร์ที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2565

ความสำเร็จ

"มีความสำเร็จ ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม จิตสำนึกที่ถูกที่ดี ความเห็นที่ถูกที่ดี ความปรารถนาที่ถูกที่ดี เจตนาที่ถูกที่ดี ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความตรง ความจริง ความจริงใจ วิชา ความรู้ ความพอเหมาะ การรู้จักบันทึก รู้จักเก็บบันทึก การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

ย่อ
"มีความสำเร็จ ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

การพัฒนาความสามารถ พัฒนาตนเอง

การพัฒนาความสามารถ
"ควรรู้ความสามารถของตนเองที่มีอยู่ตามจริง แล้วพัฒนาตนเองด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความตรง วิชา การรู้จักวางเฉย ความไม่โลภ ความไม่หลง ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ
"ในการกระทำ ควรใช้ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างละครึ่ง"

การพัฒนาตนเอง
"ควรรู้ให้เพียงพอ พัฒนาตนเองในทางที่ถูกที่ดีให้เพียงพอ ทันเวลา ด้วยธรรมะ กฎของธรรมชาติ ความเพียร วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

การทำถูกทำดี ความเข้าใจ

การทำถูกทำดี
"การทำถูกทำดี กระทำได้โดยการใส่ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ลงในการกระทำ ด้วยทางสายกลาง"
"เมื่อใส่ธรรมะ วิชาลงในการกระทำแล้ว ควรตั้งมั่น เพียร พยายาม ประคับประคอง อดทน เข้มแข็ง สู้ เพื่อให้กระทำสำเร็จ ด้วยทางสายกลาง"

ความเข้าใจ
"ความเข้าใจ ควรเข้าใจตามเหตุ ผล อย่างถูกต้องตามจริง เป็นกลาง ไม่ลำเอียง รู้จักการวางเฉย ไม่ยึดติด ไม่ยึดมั่นถือมั่น ไม่หลง ไม่เป็นกิเลส ด้วยทางสายกลาง"

มีค่า มีประโยชน์ต่อขันธ์

"ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความจริงใจ วิชา ความพอเหมาะ การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง เป็นสิ่งที่มีค่า มีประโยชน์ต่อขันธ์ จึงควรปฏิบัติ"
"ควรเลือกรับสิ่งที่มีค่า มีประโยชน์ต่อขันธ์ มาให้ขันธ์"
"ไม่ควรเลือกสิ่งที่ไม่มีค่า ไม่มีประโยชน์ หรือมีโทษต่อขันธ์ มาให้ขันธ์"

การพอใจ การตั้งหลัก การตั้งอยู่

การพอใจ
"พอใจในความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม การทำถูกทำดี วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"พอใจจากความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม การทำถูกทำดี วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
ย่อ
"พอใจในความถูกความดี ความไม่เป็นกิเลส"

การตั้งหลัก
"ตั้งหลักด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา การรู้คุณแทนคุณ ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
หรือ
"ตั้งหลักด้วยความถูกความดี ความไม่เป็นกิเลส"
"ตั้งหลักด้วยธรรมชาติฝ่ายที่ถูกที่ดี"

การตั้งอยู่ ตั้งมั่นอยู่ที่ควร
"ตั้งอยู่ ตั้งมั่นอยู่ที่ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง ถูกกฎของธรรมชาติ"

การอยู่

"อยู่ด้วยความถูกความดี วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

ย่อ
"อยู่ด้วยความถูกความดี อย่างไม่เป็นกิเลส"

เจตนา ไม่กระทำผิดจากเป้าหมาย

เจตนา
"ควรมีเจตนาที่แท้จริงที่ถูกที่ดี"
"ควรมีเจตนาที่ถูกที่ดี ไม่ควรมีเจตนาที่ไม่ถูกที่ไม่ดี"
"การมีเจตนาที่ถูกที่ดี แล้วลงมือปฏิบัติอย่างถูกต้องให้สำเร็จ ด้วยธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง และการหักห้ามไม่ให้มีเจตนาที่ไม่ถูกที่ไม่ดี ไม่กระทำการที่ไม่ถูกที่ไม่ดี จะสามารถแก้ปัญหาได้"

ไม่กระทำผิดจากเป้าหมาย
"ควรมีเป้าหมายที่แท้จริงที่ถูกที่ดี ไม่ควรกระทำผิดจากเป้าหมายที่แท้จริงที่ถูกที่ดี ด้วยธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

การเปรียบเทียบ

"เปรียบเทียบอย่างถูกหลักธรรม ถูกหลักวิชา ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง
ไม่เปรียบเทียบอย่างผิดหลักธรรม ผิดหลักวิชา เป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส"
"เปรียบเทียบด้วยความจริง ความตรง ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ไม่ลำเอียง"
"เปรียบเทียบอย่างถูกต้อง เพื่อการปรับปรุง พัฒนา"
"เปรียบเทียบอย่างถูกต้อง เพื่อปรับปรุง พัฒนาตนเอง"

สรุปการทำที่ควร

สรุปการทำที่ควร
"ในการทำอะไรก็ตามควรทำด้วยความถูก ธรรมะ วิชา ความไม่เบียดเบียน ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

ไม่ลังเล ไม่ท้อถอย ไม่ถอดใจ

"ไม่ลังเล ไม่ท้อถอย ไม่ถอดใจในความถูกความดี ธรรมชาติฝ่ายที่ถูกที่ดี ความไม่เป็นกิเลส"

สวมบทบาทในใจ

"สามารถสวมบทบาทในใจ ถ้าเราเป็นเขา เราจะทำอย่างไร จะแก้ปัญหาอย่างไร ควรทำให้ถูกให้ดี"

วันศุกร์ที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2565

ธรรมที่ทำให้มีความสุข ไม่ทุกข์

"การปฏิบัติความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความตรง ความจริง วิชา ความพอเหมาะ การรู้จักวางเฉย การรู้จักออกจาก การรู้จักให้รู้จักรับ การรู้จักสละ ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง จะทำให้มีความสุข ไม่เบียดเบียนกัน แก้ปัญหาได้ ไม่ทุกข์"

วันพฤหัสบดีที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2565

ควรทำ ไม่ควรทำ

"ควรทำในสิ่งควรทำคือธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ไม่ควรทำในสิ่งไม่ควรทำคืออธรรม"
"สิ่งไม่ควรทำคือการแย่ง อย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส"

วันอังคารที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2565

รักษาตน รักษาผู้อื่น

"รักษาตน รักษาผู้อื่น โดยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง ความสม่ำเสมอ เสมอต้นเสมอปลาย"
ย่อ
"รักษาตน รักษาผู้อื่น ด้วยความถูกความดี ความไม่เป็นกิเลส"

ขีดจำกัด ทางสายกลาง

"การกระทำอย่างถูกหลักธรรม เป็นวิชา ถูกกฎของธรรมชาติ เหมาะสมตามกาล เป็นทางสายกลาง ไม่เกินขีดจำกัดตามหลักธรรม ตามหลักวิชา ตามกฎของธรรมชาติ ตามกาล จะทำให้กระทำสำเร็จ แก้ปัญหาได้ ไม่เป็นทุกข์"
"การกระทำอย่างมีขีดจำกัดถูกต้อง ตามหลักธรรม ตามหลักวิชา ตามกฎของธรรมชาติ ตามกาล เป็นทางสายกลาง จะทำให้เกิดความเป็นธรรม มีความสุขได้"

วันจันทร์ที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2565

กล้า กล้าหาญ เข้มแข็ง สู้ อดทน

กล้า กล้าหาญ เข้มแข็ง สู้ อดทน
"กล้า กล้าหาญ เข้มแข็ง สู้ อดทน ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา ความไม่เบียดเบียน การรู้จักวางเฉย ปล่อยวาง การรู้จักออกจาก ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

กล้า อดทน
"มีความกล้า ในการกระทำความถูกความดี อย่างเป็นทางสายกลาง"
"มีความอดทน ในการกระทำความถูกความดี อย่างเป็นทางสายกลาง"

ความเพียร พยายาม

ความเพียร พยายาม
"มีความเพียร พยายาม ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา ความไม่เบียดเบียน การรู้จักวางเฉย ปล่อยวาง การรู้จักออกจาก ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

ความเพียรพยายาม ความอดทน
"ควรมีความเพียรพยายาม ความอดทนในการทำความถูก"
"ควรมีความเพียรพยายาม ความอดทนในการทำความถูก ให้เพียงพอ"

การสร้างสรรค์

"สร้างสรรค์ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

สร้างเหตุที่ถูกที่ดี

"สร้างเหตุเป็นการกระทำความถูกความดี จะทำให้มีผลเป็นมีความสงบสุข มีความสุข ได้ดี อยู่ดี"
"สร้างเหตุที่ถูกที่ดี เพื่อให้มีผลที่ถูกที่ดี"
"สร้างเหตุที่ถูกที่ดีได้ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"กระทำเหตุที่ไม่เป็นกิเลส ทำให้มีผลที่ไม่เป็นกิเลส"
"สร้างเหตุที่ถูกที่ดีต่อตนเอง หรือผู้อื่น"

การถือ

การถือที่ควร คือ
"ถือธรรมะ ความถูกความดี ธรรมฝ่ายดีงาม สิ่งที่ถูกที่ดีหรือแนวบวก สิ่งที่เป็นกลางหรือแนวกลาง แนวลบที่ไม่เป็นอธรรม วิชา ความไม่เป็นกิเลส"

"การถือที่ถูก ไม่ควรยึดมั่นถือมั่น ยึดติด หรือหลง"

การพัก ตั้งหลัก

"การพัก ตั้งหลัก ทำได้โดยการปฏิบัติเป็นแนวกลาง วางใจเป็นกลาง วางเฉย ปล่อยวาง ออกจาก"

เอาชนะอธรรม กิเลส

"เอาชนะอธรรม กิเลส ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"เอาชนะอธรรม กิเลสในตนเอง แล้วไม่ปฏิบัติอธรรม กิเลส"
"ไม่เป็นเจ้าของอธรรม กิเลส"

วันอาทิตย์ที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2565

การปฏิบัติเกี่ยวกับอธรรม อวิชา กิเลส

- ไม่พึงพอใจ ไม่ปรารถนาในอธรรม อวิชา กิเลส
- ไม่ให้อธรรม อวิชา กิเลส อยู่เหนือธรรมะ วิชา ความไม่เป็นกิเลส ไม่ให้อธรรมมาก่อนธรรมะ ไม่ให้อวิชามาก่อนวิชา ไม่ทำให้กิเลสมาก่อนความไม่เป็นกิเลส
- ไม่ยึด ติด พึ่ง พึ่งพา ใช้อธรรม อวิชา กิเลส
- ฝืน อดทนอดกลั้นต่ออธรรม กิเลส
- เว้นอธรรม อวิชา กิเลส
- ไม่คิด พูด สื่อ ปฏิบัติอย่างเป็นอธรรม อวิชา กิเลส
- ตัดอธรรม ตัดอวิชา ตัดกิเลส
- ถอนอธรรม ถอนอวิชา ถอนกิเลส

อวิชา คือ ความไม่มีวิชา วิชาที่ผิดที่ไม่ดี

วันเสาร์ที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565

สิ่งที่ถูกที่ดี

สิ่งที่ถูกที่ดี คือสิ่งที่ถูกหลักธรรม ถูกหลักธรรมฝ่ายดีงาม หรือถูกหลักวิชา

"มีเป้าหมายเป็นสิ่งที่ถูกที่ดี"
"ปรารถนาในสิ่งที่ถูกที่ดี"
"มีแรงผลักดันที่ถูกที่ดี"
"เลือกในสิ่งที่ถูกที่ดี"
"เข้าหาในสิ่งที่ถูกที่ดี"
"ให้สิ่งที่ถูกที่ดีนำทางให้"
"ฝึกในสิ่งที่ถูกที่ดี"
"ทำในสิ่งที่ถูกที่ดี"
"พึ่งพาในสิ่งที่ถูกที่ดี"
"รับในสิ่งที่ถูกที่ดี"
"ให้ในสิ่งที่ถูกที่ดี"
"ช่วยเหลือด้วยสิ่งที่ถูกที่ดี"
"น้อมนำ นำพาในสิ่งที่ถูกที่ดี"

บทความที่ได้รับความนิยม