วันจันทร์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2566

การปรารถนาดี การให้ รับ

"ควรปรารถนาดี ให้ รับ โดยไม่ใช้กิเลส"
"ควรน้อมนำ นำพา โดยไม่ใช้กิเลส"

ไม่ใช้กิเลส คือ มีเจตนาไม่ใช้กิเลส

วันอาทิตย์ที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2566

ไม่ใช้ขันธ์ในทางที่ผิด

ไม่ใช้ขันธ์ในทางที่ผิด คือ ไม่เสียบางสิ่งไป เพื่อให้ได้บางสิ่งมา อย่างเป็นอธรรม เป็นวิชาที่ผิดที่ไม่ดี หรือเป็นกิเลส

"ไม่ใช้ขันธ์ในทางที่ผิดเลย"
"ไม่ใช้ขันธ์ในทางที่ผิด ทั้งขันธ์ของตนเอง หรือขันธ์อื่น"
"ไม่ใช้ขันธ์ในทางที่ผิดเลย ทั้งกับสิ่งที่ถูกที่ดี หรือกับสิ่งที่ผิดที่ไม่ดี"
"ไม่ใช้ขันธ์ในทางที่ผิดเลย ทั้งกับธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม หรือกับอธรรม วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส"
"ไม่ใช้ขันธ์ในทางที่ผิดแล้ว สามารถปฏิบัติความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง ได้"

วันเสาร์ที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2566

ชื่อเสียง หน้าตา

"ไม่ควรปรารถนา หา หรือมีชื่อเสียง หน้าตา อย่างเป็นอธรรม เป็นการเบียดเบียน หรือเป็นกิเลส"
"ไม่ควรติด ยึดติด หรือยึดมั่นถือมั่นในชื่อเสียง หน้าตา"

วันศุกร์ที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2566

สิ่งที่ช่วยในการละหรือตัดอธรรม กิเลส

"การละหรือตัดอธรรม วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส สามารถใช้หรือปฏิบัติธรรมฝ่ายดีงามช่วยได้"

วันพฤหัสบดีที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2566

การทำให้ดีที่สุด

"ไม่ควรวิตก กังวล หรือเครียด ทำให้ดีที่สุดด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

การเกิดทางสายกลาง

"ทางสายกลาง เกิดจากความถูก วิชา การรู้กฎของธรรมชาติ รู้ขอบเขตจำกัด รู้ขีดจำกัดของสิ่งต่างๆ การไม่เกินขอบเขตจำกัด ไม่เกินขีดจำกัด การไม่หย่อนเกิน ไม่ตึงเกิน"

การเกิดธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม

"ธรรมะ เกิดจากความถูก วิชา"
"ธรรมฝ่ายดีงาม เกิดจากความถูก วิชา จิตสำนึกที่ดี เจตนาที่ดี การปรารถนาดี การปฏิบัติดี การให้ที่ถูกที่ดี ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความไม่เบียดเบียน"

การทำให้มีวิชา

"วิชา เกิดจากความถูก ความดี ความไม่เบียดเบียน"
"การไม่ปฏิบัติหรือตัดวิชาที่ผิดที่ไม่ดี จะทำให้เรามีวิชาได้"

วันพุธที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2566

แก้ปัญหาโดยการเว้น

"แก้ปัญหาโดยการไม่ปฏิบัติ หรือตัดอธรรม วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส"

ทำตนให้มีค่า มีประโยชน์

"ทำตนให้มีค่า มีประโยชน์ต่อตนเองหรือผู้อื่น ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความจริงใจ วิชา ความไม่เบียดเบียน ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
ย่อ
"ทำตนให้มีค่า มีประโยชน์ต่อตนเองหรือผู้อื่น ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันอังคารที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2566

นำ

"ควรดูให้รู้ว่าสิ่งไหนความผิดนำความถูก สิ่งไหนความถูกนำความผิด"
"ควรไม่ให้ความผิดนำความถูก ควรให้ความถูกนำความผิด"
"ควรดูให้รู้ว่าสิ่งไหนอธรรมนำธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม สิ่งไหนธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงามนำอธรรม"
"ควรไม่ให้อธรรมนำธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ควรให้ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงามนำอธรรม"
"ควรดูให้รู้ว่าสิ่งไหนวิชาที่ผิดที่ไม่ดีนำวิชา สิ่งไหนวิชานำวิชาที่ผิดที่ไม่ดี"
"ควรไม่ให้วิชาที่ผิดที่ไม่ดีนำวิชา ควรให้วิชานำวิชาที่ผิดที่ไม่ดี"
"ควรดูให้รู้ว่าสิ่งไหนกิเลสนำความไม่เป็นกิเลส สิ่งไหนความไม่เป็นกิเลสนำกิเลส"
"ควรไม่ให้กิเลสนำความไม่เป็นกิเลส ควรให้ความไม่เป็นกิเลสนำกิเลส"

ส่งเสริม ควบคู่ธรรมะ วิชา

"ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม จะส่งเสริมวิชา
วิชา จะส่งเสริมธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม"
"ควรใช้หรือปฏิบัติธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ควบคู่ไปกับวิชา"

วันจันทร์ที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2566

เชื่อมต่อธรรมะ วิชา ประยุกต์วิชา ประยุกต์ธรรมะ

เชื่อมต่อธรรมะ วิชา
"ควรเชื่อมต่อระหว่างธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม และวิชาได้"

ประยุกต์วิชา ประยุกต์ธรรมะ
"เราสามารถประยุกต์วิชาไปเป็นธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงามได้ และสามารถประยุกต์ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงามไปเป็นวิชาได้"
"เราสามารถประยุกต์วิชาไปใช้กับธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงามได้ และสามารถประยุกต์ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงามไปใช้กับวิชาได้"

วันเสาร์ที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2566

สิทธิ์

ควรมีสิทธิ์ใน
- ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม
- วิชา
- การนำไปปฏิบัติ หรือใช้ได้ อย่างถูกต้อง ด้วยความเหมาะสม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม รู้คุณแทนคุณ วิชา
- ความไม่เบียดเบียน
- ความอิสระ อย่างถูกต้อง
- ความไม่เป็นกิเลส

ย่อ
ควรมีสิทธิ์ใน
- ความถูกความดี
- การนำไปปฏิบัติ หรือใช้ได้ อย่างถูกต้อง ด้วยความเหมาะสม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม รู้คุณแทนคุณ วิชา
- ความอิสระ อย่างถูกต้อง

วันศุกร์ที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2566

วันพฤหัสบดีที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2566

วันพุธที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2566

การฝึก

"ฝึกฝน ปฏิบัติธรรมะ ธรรมฝ่ายดี"
"ฝึกความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันอังคารที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2566

เหตุ ผล

"ขันธ์ กระทำให้มีเหตุ จะมีผล ผลจะเป็นไปตามเหตุที่กระทำไป"
"ควรทำเหตุที่ถูกที่ดี ไม่ควรทำเหตุที่ผิดที่ไม่ดี"
"เหตุที่ถูกที่ดี เป็นความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"สร้างเหตุที่ถูกที่ดีต่อตนเอง หรือผู้อื่น"

วันจันทร์ที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2566

ไม่ได้จากความผิดความไม่ดี ได้จากความถูกความดี

"เราจะไม่ได้อะไรเลยจากความผิดความไม่ดี เราจะไม่ได้ประโยชน์อะไรเลยจากความผิดความไม่ดี"
"เราจะได้จากความถูกความดี วิชา ความไม่เป็นกิเลส เราจะได้ประโยชน์ได้คุณค่าจากความถูกความดี วิชา ความไม่เป็นกิเลส"

หลักยืน

"ควรมีหลักยืนเป็นความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ควรมีหลักยืนเป็นความเพียรในทางที่ถูกที่ดี ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม การรู้จักให้รู้จักรับในทางที่ถูกที่ดี การรู้คุณแทนคุณอย่างถูกต้อง การรู้จักวางเฉย การรู้จักปล่อยวาง การรู้จักออกจาก"
ย่อ
"ควรมีหลักยืนเป็นความถูกความดี ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

ไม่ยึดติด ไม่ยึดมั่นถือมั่น

"ไม่ยึดติด ไม่ยึดมั่นถือมั่นในทุกสิ่ง เพราะทุกสิ่งมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ควรมีหลักยืนที่ถูกที่ดี"
"ไม่ยึดติดในอธรรม ความไม่ถูกไม่ดี กิเลส"
"ไม่ยึดติดในความไม่ถูกไม่ดีของตนหรือของผู้อื่น ควรละความไม่ถูกไม่ดีของตน"
"ไม่ยึดมั่นถือมั่นในความไม่ถูกไม่ดี กิเลส"
"ไม่ยึดมั่นถือมั่นในความไม่ถูกไม่ดีของตนหรือของผู้อื่น"

วันอาทิตย์ที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2566

หน้าที่

"รู้ในหน้าที่ ปฏิบัติหน้าที่ รับผิดชอบในหน้าที่ของตน ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"รู้ในหน้าที่ของตน
พยายามปฏิบัติหน้าที่ของตนอย่างเหมาะสม ไม่ให้ขาดตกบกพร่อง
มีความรับผิดชอบในหน้าที่ของตน"

วันศุกร์ที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2566

การเก็บ สะสมความถูก

"ควรเก็บ สะสมความถูกเอาไว้ ให้เพียงพอ"
"การแก้ปัญหา ควรทำให้มีความถูกเพียงพอ แล้วใช้ความถูกแก้ปัญหา" 

ถูก หมายถึง ถูกหลักธรรม ถูกคลองธรรม ถูกหลักวิชา ถูกกฎของธรรมชาติ

การปฏิบัติ สะสมความถูกความดี

"ปฏิบัติถูกปฏิบัติดี สะสมความถูกความดีเอาไว้ อย่างเป็นทางสายกลาง"

เกี่ยวกับวิชาที่ถูกที่ดี

"วิชาที่ถูกที่ดีมีหลายด้าน"
"ควรคิดค้น ปรับปรุง พัฒนา ฝึกฝนวิชาที่ถูกที่ดีอย่างสม่ำเสมอ เป็นทางสายกลาง แล้วนำไปใช้จริง"

วันพุธที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2566

การใช้วิชา การแก้ปัญหาด้วยวิชา

การใช้วิชา
"ใช้วิชาที่ถูกที่ดี ไม่ใช้วิชาที่ผิดที่ไม่ดี"

การแก้ปัญหาด้วยวิชา
"แก้ปัญหาด้วยวิชาที่ถูกที่ดี ไม่แก้ปัญหาด้วยวิชาที่ผิดที่ไม่ดี"

การอยู่ของอกุศล
"อกุศลอยู่ได้ด้วยวิชาที่ผิดที่ไม่ดี"

เข้มแข็ง อดทน มั่นคง เสมอต้นเสมอปลาย

"เข้มแข็ง อดทน มั่นคง เสมอต้นเสมอปลายในความถูกความดีหรือในการกระทำความถูกความดี ด้วยวิชา ทางสายกลาง"

วันอังคารที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2566

ไม่ทรยศ ไม่หักหลัง

"ไม่ทรยศ ไม่หักหลังธรรมะ"
"ไม่ทรยศ ไม่หักหลังความถูกความดี"
"ไม่ทรยศ ไม่หักหลังตนเองหรือผู้อื่น ด้วยการไม่ปฏิบัติความผิดความไม่ดี"

วันจันทร์ที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2566

การรับ แนวของความถูกความดี ความผิดความไม่ดี

การรับ
"รับจากความถูกความดี"
"ไม่รับจากความผิดความไม่ดี"
"รับจากธรรมชาติ และธรรมะ อย่างถูกต้อง"

แนวของความถูกความดี ความผิดความไม่ดี
ความถูกความดี จะเป็นแนวบวก แนวกลาง หรือแนวลบ ที่ไม่เป็นอธรรม เป็นวิชา
ความผิดความไม่ดี จะเป็นแนวลบที่เป็นอธรรมหรือไม่ใช่วิชา

วันเสาร์ที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2566

สิ่งที่มีคุณค่า

"สิ่งที่มีคุณค่า คือ ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม การทำถูกทำดี วิชา ความไม่เป็นกิเลส ความไม่มีกิเลส ทางสายกลาง"
ย่อ
"สิ่งที่มีคุณค่า คือ ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

คิดธรรมะ

"เราควรประมวล วิเคราะห์ วิจัยธรรม อย่างถูกต้องได้"

วันศุกร์ที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2566

มุมมอง

"ควรมีมุมมองที่ถูกที่ดีต่อธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงามด้วยวิชา มองตามความจริง"
"ควรมีมุมมองที่ถูกต่อธรรมด้วยวิชา มองตามความจริง"
"ควรมีมุมมองที่ถูกที่ดีต่อผู้อื่นด้วยวิชา มองตามความจริง"
"ควรมีมุมมองที่ถูกที่ดีต่อสิ่งต่างๆ ด้วยวิชา มองตามความจริง"
"ควรมีมุมมองที่ถูกที่ดีต่อธรรมชาติด้วยวิชา มองตามความจริง"
"การมีมุมมองที่ถูกที่ดีด้วยวิชา มองตามความจริง จะช่วยในการแก้ปัญหาได้"

วันพฤหัสบดีที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2566

สิ่งที่เป็นอุปสรรคต่อความถูกความดี

สิ่งที่เป็นอุปสรรคต่อความถูกความดี เป็นสิ่งที่ไม่ควรปฏิบัติ คือ
- การติดในรูป นาม
- การประพฤติผิดศีลธรรม
- การประพฤติไม่เหมาะสม

"การไม่ปฏิบัติสิ่งที่เป็นอุปสรรคต่อความถูกความดี จะทำให้สามารถกระทำความถูกความดีสำเร็จได้ง่ายยิ่งขึ้น"

วันพุธที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2566

การทำความถูกความดีหลายด้าน การอยู่

การทำความถูกความดีหลายด้าน
"การทำความถูกความดีมีอยู่หลายด้าน เราสามารถเลือกทำอย่างเหมาะสม ทำทีละด้าน หรือทำทีละหลายด้าน ด้วยวิชา แล้ววางเฉย พักสลับไปด้วยได้"

การอยู่
"ตอนอยู่เราควรเอาขันธ์เข้าด้วยความถูกความดี และปฏิบัติความถูกความดี"

วันอังคารที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2566

ไม่ปฏิบัติสิ่งที่เป็นอุปสรรคต่อความถูกความดี ความสำเร็จ และการแก้ปัญหา

ไม่ปฏิบัติสิ่งที่เป็นอุปสรรคต่อความถูกความดี
"ไม่ปฏิบัติสิ่งที่เป็นอุปสรรคต่อความถูกความดี แล้วปฏิบัติความถูกความดี"

ไม่ปฏิบัติสิ่งที่เป็นอุปสรรคต่อความสำเร็จ
"ไม่ปฏิบัติสิ่งที่เป็นอุปสรรคต่อความสำเร็จ แล้วกระทำให้สำเร็จในทางที่ถูกที่ดี"

ไม่ปฏิบัติสิ่งที่เป็นอุปสรรคต่อการแก้ปัญหา
"ไม่ปฏิบัติสิ่งที่เป็นอุปสรรคต่อการแก้ปัญหา แล้วแก้ปัญหาในทางที่ถูกที่ดี"

ความคิด ความเห็นที่ควร

ความคิด ความเห็นที่ควร คือ การมีความคิด ความเห็นว่าความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง เป็นสิ่งที่ถูกที่ดีที่ควร

ความถูกและการบังคับ การเกิดความถูก

ความถูกและการบังคับ
"ความถูก ไม่ได้เกิดจากการถูกผู้อื่นบังคับ แต่เกิดจากการบังคับตนเอง"
"ความถูก ไม่ได้จากการถูกผู้อื่นบังคับ แต่ได้จากการบังคับตนเอง"

การเกิดความถูก
"ความถูก เกิดขึ้นหรือได้มาจากธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ความถูก เกิดขึ้นจากจิตสำนึกที่ถูกที่ดี ความเห็นที่ถูกที่ดี ความคิดที่ถูกที่ดี ความเพียรพยายามที่ถูกที่ดี การกระทำที่ถูกที่ดี"

วันจันทร์ที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2566

ใช้ให้มีประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์

"ควรใช้สิ่งที่เรามีให้มีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์ ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันอาทิตย์ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2566

มีสาระ มีแก่นสาร สร้างสรรค์

"มีสาระ มีแก่นสาร สร้างสรรค์ได้โดยการปฏิบัติความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

บทความที่ได้รับความนิยม