วันพุธที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2565

ตั้งมั่น ปล่อยวาง ทางสายกลาง

ตั้งมั่น ปล่อยวาง
"รู้จักตั้งมั่น รู้จักปล่อยวาง เพื่อให้เป็นทางสายกลางและสำเร็จได้"
"ตั้งมั่นเมื่อจะหย่อนเกินหรือพอดี ปล่อยวางเมื่อจะตึงเกิน"

ทางสายกลาง
ทางสายกลาง คือ ไม่หย่อนเกิน ไม่ตึงเกิน ไม่เกินขีดจำกัด
"ทางสายกลางเป็นทางที่แก้ปัญหาได้ ทำให้สำเร็จได้ ไม่เป็นโมฆะ เป็นทุกข์น้อยที่สุด"

การอยู่ในระยะที่ปลอดภัยจากอธรรม กิเลส

"ควรปฏิบัติความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง เพื่อให้อยู่หรืออยู่อย่างเป็นแนวบวกในระยะที่ปลอดภัยจากอธรรม กิเลส"

"ควรให้แนวบวก แนวกลาง แนวลบ มีขนาดไม่เกินขีดจำกัด"

วันอังคารที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2565

ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม วิชา ช่วยเหลือ

"ธรรมะ จะช่วยเหลือทางจิตใจ ทางวิชา
ธรรมฝ่ายดีงาม วิชา จะช่วยเหลือทางจิตใจและทางรูปนาม"

วันอาทิตย์ที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2565

เอาชนะ ละ ตัด ปฏิบัติ

"เอาชนะ ละ ตัดความผิด อธรรม ธรรมฝ่ายไม่ดี ความไม่ดี วิชาฝ่ายที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส ความไม่เป็นทางสายกลาง
แล้วปฏิบัติความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ทำให้เป็นแนวบวก"

ส่วนที่เสีย กรรมที่เสีย ก้าวหน้า ถดถอย

ส่วนที่เสีย กรรมที่เสีย
"ควรไม่ให้ส่วนที่เสียเพิ่มขึ้น ควรให้ส่วนที่เสียลดลง"
"ควรไม่ให้กรรมที่เสียเพิ่มขึ้น ควรให้กรรมที่เสียลดลง"

ก้าวหน้า ถดถอย
"ควรให้ความถูกความดีก้าวหน้า ให้ความผิดความไม่ดีถดถอย"

วันเสาร์ที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2565

หลักฝึกปฏิบัติ

หลักฝึกปฏิบัติ ๒๒ ขั้น
   ขั้นที่ ๑ เมื่อหายใจเข้ายาว ก็รู้สึกตัวทั่วถึง ว่าหายใจเข้ายาว เมื่อหายใจออกยาว ก็รู้สึกตัวทั่วถึง ว่าหายใจออกยาว
   ขั้นที่ ๒ เมื่อหายใจเข้าสั้น ก็รู้สึกตัวทั่วถึง ว่าหายใจเข้าสั้น เมื่อหายใจออกสั้น ก็รู้สึกตัวทั่วถึง ว่าหายใจออกสั้น
   ขั้นที่ ๓ รู้สึกตัวว่าลมหายใจเบา หรือหนัก หยาบ หรือละเอียด
   ขั้นที่ ๔ รู้พร้อมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง อย่างถูกต้อง มีสติ
   ขั้นที่ ๕ ทำกายสังขารให้รำงับอยู่ อย่างถูกต้อง มีสติ

   ขั้นที่ ๖ รู้พร้อมเฉพาะซึ่งปีติ อย่างถูกต้อง มีสติ
   ขั้นที่ ๗ รู้พร้อมเฉพาะซึ่งสุข อย่างถูกต้อง มีสติ
   ขั้นที่ ๘ รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร อย่างถูกต้อง มีสติ
   ขั้นที่ ๙ ทำจิตตสังขารให้รำงับอยู่ อย่างถูกต้อง มีสติ

   ขั้นที่ ๑๐ รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิต อย่างถูกต้อง มีสติ
   ขั้นที่ ๑๑ ทำจิตให้ปราโมทย์ยิ่งอยู่ อย่างถูกต้อง มีสติ
   ขั้นที่ ๑๒ ทำจิตให้ตั้งมั่นอยู่ อย่างถูกต้อง มีสติ
   ขั้นที่ ๑๓ ทำจิตให้ปล่อยอยู่ อย่างถูกต้อง มีสติ

   ขั้นที่ ๑๔ รู้ถึงการเกิด อย่างถูกต้อง มีสติ
   ขั้นที่ ๑๕ รู้ถึงการสร้าง ก่อ อย่างถูกต้อง มีสติ
   ขั้นที่ ๑๖ รู้ถึงการพัฒนา อย่างถูกต้อง มีสติ
   ขั้นที่ ๑๗ รู้ถึงการปรับปรุง แก้ไข อย่างถูกต้อง มีสติ
   ขั้นที่ ๑๘ รู้ถึงการทรงอยู่ อย่างถูกต้อง มีสติ

   ขั้นที่ ๑๙ การตามเห็น ความไม่เที่ยง อยู่เป็นประจำ อย่างถูกต้อง มีสติ
   ขั้นที่ ๒๐ การตามเห็น ความจางคลาย อยู่เป็นประจำ อย่างถูกต้อง มีสติ
   ขั้นที่ ๒๑ การตามเห็น ความดับไม่เหลือ อยู่เป็นประจำ อย่างถูกต้อง มีสติ
   ขั้นที่ ๒๒ การตามเห็น ความสลัดคืน อยู่เป็นประจำ อย่างถูกต้อง มีสติ

องค์แห่งฌาน
    ๑. วิตก คำคำนี้ โดยทั่วไปแปลว่า ความตริหรือความตรึก. แต่ในภาษาสมาธิ คำว่า วิตกนี้ หาใช่ความคิดนึกตริตรึกอย่างใดไม่. ถ้าจะเรียกว่าเป็นความคิด ก็เป็นเพียงการกำหนดนิ่งๆ แนบแน่นอยู่ในสิ่งๆ เดียว, ไม่มีความหมายที่เป็นเรื่องเป็นราวอะไร.
    ๒. วิจาร คำคำนี้ โดยทั่วไป หมายถึงการตรึกตรอง หรือสอดส่องหรือวินิจฉัย แต่ในทางภาษาสมาธิ หาได้มีความหมายอย่างนั้นไม่ เป็นแต่เพียงอาการที่จิตรู้ต่ออารมณ์ที่กำหนดอยู่นั้น, ซึ่งในที่นี้ ได้แก่ลมหายใจ, อยู่อย่างทั่วถึง.
    ๓. ปีติ. คำนี้ ตามปรกติแปลว่าความอิ่มใจ. ในภาษาของสมาธิหมายถึงความอิ่มใจด้วยเหมือนกัน แต่จำกัดความเฉพาะความอิ่มใจที่ไม่เนื่องด้วยพื้นฐาน และต้องเป็นความอิ่มใจที่เกิดมาจากความรู้สึกว่าตนทำอะไรสำเร็จ หรือตนได้ทำสิ่งที่ควรทำเสร็จแล้ว หรือต้องเสร็จแน่ๆ ดังนี้เป็นต้นเท่านั้น.
    ๔. สุข. คำว่าสุขในที่นี้ หมายถึงสุขอันเกิดจากการที่จิตไม่ถูกนิวรณ์รบกวน รวมกันกับกำลังของปีติหรือปราโมทย์ ที่ได้ส่งเสริมให้เกิดความรู้สึกอันเป็นสุขนี้ขึ้น.
    ๕. เอกัคคตา. เป็นคำที่ย่อมาจากคำว่า จิตเตกัคคตา (จิตต +เอกัคคตา) แปลว่าความที่จิตเป็นสิ่งซึ่งมียอดสุดเพียงอันเดียว. โดยใจความก็คือความที่จิตมีที่กำหนดหรือที่จด-ที่ตั้งเพียงแห่งเดียว.

มีหลักเกณฑ์ที่สรุปได้ ดังนี้ :
    ๑. ปฐมฌาน ประกอบด้วยองค์ห้า คือ วิตก วิจาร ปีติ สุข และ เอกัคคตา.
    ๒. ทุติยฌาน ประกอบด้วยองค์สาม คือ ปีติ สุข และ เอกัคคตา.
    ๓. ตติยฌาน ประกอบด้วยองค์สองคือ สุข และ เอกัคคตา.
    ๔. จตุตถฌาน ประกอบด้วยองค์สองคือ อุเบกขา และ เอกัคคตา.

วันศุกร์ที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2565

การเพิ่ม

"เพิ่มให้ธรรมะ ไม่เพิ่มให้อธรรม กิเลส"
"เพิ่มให้ความถูก ไม่เพิ่มให้ความผิด"
"เพิ่มให้ความดี ไม่เพิ่มให้ความไม่ดี"

ความถูก คือ ถูกหลักธรรม ถูกหลักธรรมฝ่ายดีงาม ถูกหลักวิชา ถูกกฎของธรรมชาติ ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง
ความผิด คือ ผิดหลักธรรม ผิดหลักวิชา หรือผิดกฎของธรรมชาติ

วันอังคารที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2565

สบายใจ

"สบายใจได้โดยการปฏิบัติความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

การชดใช้กรรม ชดใช้หนี้ แก้ไข

"หากทำไม่ถูกไม่ดี เบียดเบียน หรือรับมา สามารถชดใช้กรรม ชดใช้หนี้ แก้ไขได้โดยการปฏิบัติความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ไม่ควรคิดว่าจะหนีกรรม หรือหนีหนี้"
"ไม่ควรหนีกรรม หรือหนีหนี้"
"สามารถผ่อนผันการชดใช้กรรม ชดใช้หนี้ ไปชดใช้ภายหลัง อย่างถูกต้องได้ หากมีความจำเป็น"

วันจันทร์ที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2565

การช่วยเหลือตนเอง

"ช่วยเหลือตนเองด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา การรู้จักวางเฉย การรู้จักออกจาก ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ช่วยเหลือตนเองโดยการหา เรียง ทำ สร้าง รักษาสมบัติรูป สมบัตินามให้เป็นแนวบวกด้วยตนเอง มาเก็บหรือใช้ อย่างถูกหลักธรรม เป็นวิชา ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"

วันศุกร์ที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2565

กลุ่มมิตร

"ควรมีกลุ่มมิตรที่ถูกที่ดี"
"มีกลุ่มมิตรที่ถูกหลักธรรม ถูกหลักธรรมฝ่ายดีงาม มีความปรารถนาดี เป็นกลาง เป็นธรรม มีความตรง มีความจริง จริงใจ ถูกหลักวิชา รู้จักวางเฉย รู้จักออกจาก ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"

การทำให้ไม่ห่วง ไม่กังวล

"การทำให้ไม่ห่วง ไม่กังวลได้โดยความถูกความดี การปฏิบัติความถูกความดี วิชา ความไม่เป็นกิเลส"

วันพุธที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2565

สิ่งที่ไม่ทำให้ถูกให้ดีได้ สิ่งที่ทำให้ถูกให้ดีได้

สิ่งที่ไม่ทำให้ถูกให้ดีได้
"รูป รส กลิ่น เสียง กายสัมผัส รับรู้ทางใจ อย่างเป็นกิเลส เป็นสิ่งที่ไม่ทำให้ถูกให้ดีได้"
"การใช้รูปธรรม อรูปหรือนามธรรม ธรรม อย่างเป็นกิเลส เป็นสิ่งที่ไม่ทำให้ถูกให้ดีได้"

สิ่งที่ทำให้ถูกให้ดีได้
"ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม คุณธรรม การไม่เบียดเบียน ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง เป็นสิ่งที่ทำให้ถูกให้ดีได้"

การติดค้าง แฝงอยู่ในใจ และการแก้ไข

"หากเราปฏิบัติอธรรมหรือทำไม่ถูกไม่ดี จะทำให้กรรมหรือหนี้นั้นๆ ติดค้าง แฝงอยู่ในใจของเราไปตลอด ต้องชดใช้กรรม ชดใช้หนี้ให้หมด หรือแก้ไขเท่านั้นที่จะทำให้ไม่ติดค้าง ไม่แฝงในใจของเรา จึงไม่ควรปฏิบัติอธรรมเลย"
"การชดใช้กรรม ชดใช้หนี้ หรือแก้ไข สามารถทำได้โดยการทำถูกทำดี การวางเฉย วางใจเป็นกลาง"

วันอังคารที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2565

หลัก

"หลักคือ ไม่เบียดเบียน ไม่เป็นกิเลส"
"ไม่เบียดเบียน ไม่เป็นกิเลส ด้วยวิชา ทางสายกลาง"
"ไม่เบียดเบียนต่อตนเองหรือผู้อื่น"
"ใช้การไม่เบียดเบียน ความไม่เป็นกิเลส เป็นเจตนา นำทาง เป็นพลัง เป็นแรงขับเคลื่อน เป็นเป้าหมาย"

วันจันทร์ที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2565

ใช้กับทุกด้าน

"ใช้ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา การรู้จักวางเฉย การรู้จักออกจาก ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง กับทุกด้าน"

วันอาทิตย์ที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2565

การอยู่ร่วมกัน

"ในการอยู่ร่วมกันควรพึ่งพาตนเองหรือตั้งหลัก โดยการคิด ปฏิบัติธรรมะ การหา เก็บ ใช้สมบัติรูป สมบัตินามด้วยตนเอง รักษาสวัสดิภาพของตนเอง อย่างถูกหลักธรรม ถูกหลักวิชา ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"
"ในการอยู่ร่วมกันควรมีการให้ การรับธรรมะ สมบัติรูป สมบัตินาม สวัสดิภาพ ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม การรู้คุณแทนคุณ ความจริงใจ วิชา การรู้จักวางเฉย การรู้จักปล่อยวาง การรู้จักออกจาก ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ในการอยู่ร่วมกันสามารถแลกเปลี่ยนสมบัติรูป สมบัตินาม ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม การรู้คุณแทนคุณ ความจริงใจ วิชา การรู้จักวางเฉย การรู้จักปล่อยวาง การรู้จักออกจาก ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันพฤหัสบดีที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2565

ไม่ควรใช้ขันธ์ในทางที่ผิด

"ไม่ควรใช้ขันธ์ในทางที่ผิด ไม่ว่าจะด้วยสิ่งใดก็ตาม เพื่อสิ่งใดก็ตาม"
"ไม่ควรใช้ขันธ์ในทางที่ผิดเพื่อรูป นาม"
"ไม่ควรใช้ขันธ์ในทางที่ผิดเพื่ออธรรม วิชาที่ผิดที่ไม่ดี หรือกิเลส"
"ไม่ควรใช้ขันธ์ในทางที่ผิดเพื่อความโลภ ความโลภในความมี ความโกรธ ความหลง"
"ไม่ควรใช้ขันธ์ในทางที่ผิดเพื่อความมี อย่างเป็นกิเลส"

แนวบวก มีค่าเป็นบวกในการทำงาน

ในการทำงาน สิ่งที่ควรเป็นแนวบวก มีค่าเป็นบวก คือ
- กำลัง แรงขับเคลื่อน
- ความคิด การวางแผน
- กระบวนการทำงาน
- ที่เก็บ

"ในการทำงาน ทำให้เป็นแนวบวก มีค่าเป็นบวกได้โดยการปฏิบัติความถูกความดี วิชา"

จิตใจที่ดีงาม

"มีจิตใจที่ดีงาม ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม แนวบวก จิตสำนึกที่ถูกที่ดี ความเห็นที่ถูกที่ดี เจตนาที่ถูกที่ดี ความปรารถนาดี การคิดที่ถูกที่ดี การพูดหรือสื่อที่ถูกที่ดี การปฏิบัติที่ถูกที่ดี ความอดทน ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความจริงใจ วิชา การไม่เบียดเบียน การรู้จักวางเฉย การไม่ยึดมั่นถือมั่น ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"คุณของการมีจิตใจที่ดีงาม คือ มีความสุข สบายใจ ไม่ทุกข์ใจ เป็นคุณประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่น เป็นแนวบวก ไม่เบียดเบียน สงบสุข"

วันอังคารที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2565

การหา เรียง ทำ สร้าง หรือได้มา

"การหา เรียง ทำ สร้าง หรือได้มา ไม่มีอะไรที่ได้เปล่า จะต้องเสียสมบัติรูปหรือสมบัตินามตามหลักธรรม ตามหลักวิชา ตามกฎของธรรมชาติจึงจะหา เรียง ทำ สร้าง หรือได้มา"
"ไม่ควรรับในสิ่งที่ได้เปล่า ไม่ควรรับในสิ่งที่เราไม่นำ​สมบัติรูปหรือสมบัตินามมาใช้อย่างถูกต้อง เลย"
"รับในสิ่งที่เรานำสมบัติรูปหรือสมบัตินามมาใช้อย่างถูกต้อง"

ถูกต้อง คือ ถูกหลักธรรม ถูกหลักวิชา ถูกกฎของธรรมชาติ

วันจันทร์ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2565

ที่พึ่งที่ระลึก หลักการพัฒนาตนเอง

ที่พึ่งที่ระลึก
"ควรมีที่พึ่งที่ระลึกเป็นความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

หลักการพัฒนาตนเอง
"หลักการพัฒนาตนเองคือ ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
ย่อ
"พัฒนาตนเองด้วยความถูกต้องความดี"

ธรรมที่ทำให้จับได้ มองเห็น

"ธรรมที่ทำให้จับได้ มองเห็น คือ ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความตรง ความจริง วิชา การไม่ยึดติด ไม่ยึดมั่นถือมั่น การรู้จักวางเฉย การรู้จักปล่อยวาง การรู้จักออกจาก ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
ย่อ
"ธรรมที่ทำให้จับได้ มองเห็น คือ ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

ธรรมที่ใช้รักษาตน ผู้อื่น หรือขันธ์อื่น

"ธรรมที่ใช้รักษาตน ผู้อื่น หรือขันธ์อื่น คือ ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเมตตา ความกรุณา การมีมุทิตา การไม่ล่วงเกิน ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม การรู้คุณแทนคุณ ความตรง ความจริง จริงใจ วิชา การรู้จักวางเฉย การรู้จักปล่อยวาง การรู้จักออกจาก ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
ย่อ
"ธรรมที่ใช้รักษาตน ผู้อื่น หรือขันธ์อื่น คือ ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันเสาร์ที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2565

การไม่โลภ ไม่โลภในความมี ไม่โกรธ ไม่หลง

"การไม่โลภ ไม่โลภในความมี ไม่โกรธ ไม่หลง ทำได้โดยวิชา การใช้ในส่วนของตนเอง ความพอเหมาะ พอดี การเข้าใจในรูป นาม ธรรม"

เป็นกลาง เป็นธรรม

"ควรมีความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ใจที่เป็นกลาง ใจที่เป็นธรรม ต่อผู้อื่น หรือตนเอง"
"ควรคิด พูด สื่อ ปฏิบัติต่อผู้อื่น หรือตนเอง ด้วยความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ใจที่เป็นกลาง ใจที่เป็นธรรม"
"ควรเป็นกลาง เป็นธรรม ต่อทุกสิ่ง"
"มองดูตนเองหรือผู้อื่น ด้วยความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความจริง"
"ควรรู้ใจเขาใจเรา ด้วยความเป็นกลาง ความเป็นธรรม"

วันศุกร์ที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2565

ไม่เจาะระบบ ไม่ถูกเจาะระบบ

"ไม่ควรเจาะระบบผู้อื่นอย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส ไม่ควรถูกผู้อื่นเจาะระบบอย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส"
"ไม่ควรเจาะระบบสิ่งอื่นอย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส"
"การไม่ให้ถูกเจาะระบบ ทำได้โดยการป้องกันและอุดช่องโหว่ด้วยธรรมะ วิชา การมีสติ มีสัมปชัญญะ"

วันพุธที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565

ความเหมาะสม พอเหมาะ การปรับแต่ง

ความเหมาะสม พอเหมาะ
ความเหมาะสม จะตามหลักธรรม หลักวิชา กฎของธรรมชาติ สภาพ สถานะ
ความพอเหมาะ คือความไม่มากเกิน ไม่น้อยเกิน ตามหลักธรรม หลักวิชา กฎของธรรมชาติ

"มีความเหมาะสม พอเหมาะ มีจังหวะที่ถูกที่ดีด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ควรมีความเหมาะสม พอเหมาะในทุกๆ ด้าน"

มีความเหมาะสม พอเหมาะ
"ควรมีความเหมาะสม พอเหมาะต่อตนเอง ในทางที่ถูกที่ดี"
"ควรมีความเหมาะสม พอเหมาะต่อขันธ์อื่น ในทางที่ถูกที่ดี"
"ควรมีความเหมาะสม พอเหมาะ ในทางที่ถูกที่ดี"

การปรับแต่ง
"ควรปรับแต่งตามสภาพ สถานะ ความเหมาะสม ความพอเหมาะ ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา การรู้จักวางเฉย การรู้จักออกจาก ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

ความตรง ซื่อสัตย์ ซื่อตรง ถามตนเอง

ความตรง ซื่อสัตย์ ซื่อตรง
"ควรมีจิตสำนึก มีความตรง ซื่อสัตย์ ซื่อตรง ไม่คด ไม่โกง ทั้งต่อตนเองและผู้อื่น ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

ถามตนเอง
"สามารถถามตนเองอย่างตรงๆ ตอบให้ถูก เลือกให้ถูก ควรตอบหรือเลือกอย่างถูกหลักธรรม ถูกคลองธรรม ถูกหลักวิชา แล้วทำได้"
"การถามตนเอง สามารถถามอย่างเป็นเงื่อนไขหรือเป็นตรรกะได้ เช่นถ้าเราทำอย่างนี้แล้วถูก จะทำไหม ถ้าเราทำอย่างนี้แล้วผิด จะทำไหม"
"การถามตนเอง ควรตอบหรือเลือกตรงๆ ตามจริง ตามที่คิดจริงๆ"
"การถามตนเอง ตอบอย่างถูกต้อง แล้วทำได้ จะทำให้เราหยุดยั้งความผิดของตนเองในสถานการณ์นั้นๆ และเกิดความถูกขึ้นมาได้"

วันจันทร์ที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565

ไม่รับหรือไม่เสียสมบัติรูป สมบัตินามเพื่ออธรรม กิเลส

ไม่รับหรือไม่เสียสมบัติรูป สมบัตินามเพื่อ
- อธรรม
- ธรรมฝ่ายไม่ถูกไม่ดี ความไม่ถูกไม่ดี
- วิชาที่ไม่ถูกไม่ดี
- กิเลส

สร้างคน

"สร้างคน ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ไม่ควรสร้างคนด้วยการล่วงเกิน"
ย่อ
"สร้างคน ด้วยความถูกความดี"

วันเสาร์ที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565

เจริญ รุ่งเรือง

"ควรให้ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง เจริญ รุ่งเรือง"
ย่อ
"ควรให้ความถูกความดี เจริญ รุ่งเรือง"

ตัวแปร

"ในที่เราอยู่จริง จะมีตัวแปรอยู่มากมายอย่างจำกัด"
"ควรควบคุม ใช้ตัวแปร อย่างถูกหลักธรรม ถูกหลักวิชา ถูกกฎของธรรมชาติ ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"

วันศุกร์ที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565

การรู้

"ควรรู้ ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง ตามกาล"
"ไม่ควรรู้ ด้วยการใช้สมบัติรูป สมบัตินามอย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส"

การรู้ ด้วยทางสายกลาง

"ควรรู้ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ตามเวลาที่เหมาะสม ด้วยทางสายกลาง"
"ควรรู้พื้นฐาน รูปในที่นี้หมายเป็นรูปธรรมที่ไม่ใช่พื้นฐาน อรูป ธรรม รูปนาม หรือสิ่งต่างๆ อย่างถูกต้อง ตามเวลาที่เหมาะสม ด้วยทางสายกลาง"

พื้นฐาน หมายถึง รูป รส กลิ่น เสียง กายสัมผัส ใจ

วันพฤหัสบดีที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565

ฐาน โครงสร้าง ความสำเร็จ

"สร้างฐาน โครงสร้าง อย่างเป็นความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ฐาน โครงสร้าง ที่ถูกที่ดี จะทำให้ประสบความสำเร็จได้"
"เราสามารถแก้ไขปรับปรุงฐาน โครงสร้าง ให้ถูกต้องมากขึ้นอย่างมีขอบเขตได้"
"ถ้าเรามีฐาน โครงสร้างที่ไม่ถูกไม่ดี สามารถแก้ไขปรับปรุงให้เป็นฐาน โครงสร้างที่ถูกที่ดีได้"

เครื่อง โครงสร้าง ฐาน

"เครื่อง โครงสร้าง จะใช้สำหรับขึ้นแนวบวก
โครงสร้าง ฐาน จะใช้ป้องกันแนวลบที่เป็นอธรรม"
"ใช้ธรรมะ วิชาในการสร้าง แก้ไข ปรับปรุงเครื่อง โครงสร้าง ฐาน"
"ควรใช้ธรรมะ วิชาสร้าง แก้ไข ปรับปรุงเครื่อง โครงสร้างให้ดี มีคุณภาพ แข็งแรง จะทำให้ขึ้นแนวบวกได้เร็วและมีคุณภาพ ส่วนการลดลงในแนวบวกจะลดช้าลงและยากขึ้น
ควรใช้ธรรมะ วิชาสร้าง แก้ไข ปรับปรุงโครงสร้าง ฐานให้แข็งแรง มั่นคง จะทำให้การลดช้าลง ลดลงได้ยากขึ้น"
"สร้าง แก้ไข ปรับปรุงเครื่อง โครงสร้าง ฐาน ของแนวลบ แนวกลาง แนวบวก ให้แข็งแรง มีคุณภาพ ไปทีละหน่วย"
"อยู่ ปฏิบัติกับแนวบวก แนวกลาง แนวลบอย่างไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส"

วันพุธที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565

การมีจิตสำนึก ความเห็น เจตนาที่ถูกที่ดี

"มีจิตสำนึก ความเห็น เจตนาที่ถูกที่ดี ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา การรู้จักวางเฉย การรู้จักออกจาก ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"มีจิตสำนึก ความเห็น เจตนาที่ถูกที่ดี ด้วยเมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา การไม่เบียดเบียน"
"มีจิตสำนึก ความเห็น เจตนาที่ถูกที่ดี ด้วยความเป็นกลาง ความเป็นธรรม การรู้คุณแทนคุณ ความตรง ความจริง ความจริงใจ"

วันอังคารที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565

กันชน

"ใช้ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง หรือสมบัติรูป สมบัตินาม เป็นกันชนให้ขันธ์(ผู้อื่นหรือตนเอง)เพื่อให้ขันธ์ถูกดีอยู่ได้ ไม่ผิดไม่ไม่ดี ไม่ทุกข์ แก้ปัญหาได้ หรือเป็นกันชนให้รูปนามต่างๆ ได้"

วันจันทร์ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565

ข้อเสียของการบังคับผู้อื่น ข้อดีของการมีอิสระในความถูกความดี

ข้อเสียของการบังคับผู้อื่น คือ
- จะไม่ใช่จิตสำนึก เจตนาที่แท้จริงของผู้ที่ถูกผู้อื่นบังคับ
- ทำให้เครียด ตึงเครียด หย่อนเกินหรือตึงเกิน ไม่เป็นอิสระ ทั้งผู้บังคับผู้อื่นและผู้ที่ถูกผู้อื่นบังคับ
- ทำให้เป็นทุกข์ ทรมาน ทั้งผู้บังคับผู้อื่นและผู้ที่ถูกผู้อื่นบังคับ
- ทำให้ผลงานที่ได้มา ไม่ได้คุณภาพ

ข้อดีของการมีอิสระในความถูกความดี คือ
- จะเป็นไปด้วยจิตสำนึก เจตนาที่แท้จริงที่ถูกที่ดีได้
- ไม่เครียด ไม่ตึงเครียด พอเหมาะพอดี เป็นอิสระ กระทำด้วยตนเองได้
- ไม่ทุกข์ ไม่ทรมาน จากการบังคับผู้อื่นหรือถูกผู้อื่นบังคับ
- ทำให้ได้ผลงานที่มีคุณภาพได้

ควรบังคับตนเองให้ถูกต้องและดีอยู่

การจริงใจ มีไมตรี เป็นมิตร

"จริงใจ มีไมตรี เป็นมิตร อย่างถูกต้อง แล้ววางเฉยไปด้วยได้"

ถูกต้อง คือ ถูกหลักธรรม ถูกคลองธรรม ถูกหลักวิชา

วันเสาร์ที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565

การหา ใช้สมบัติรูป สมบัตินาม

"หา ใช้สมบัติรูป สมบัตินาม อย่างเป็นความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความพอเหมาะ วิชา รู้จักวางเฉย รู้จักออกจาก ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"
ย่อ
"หา ใช้สมบัติรูป สมบัตินาม อย่างเป็นธรรมะ วิชา ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"

การทำให้สำเร็จสมบูรณ์

"ทำให้สำเร็จสมบูรณ์ ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความตรง วิชา การรู้จักวางเฉย การรู้จักออกจาก ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
ย่อ
"ทำให้สำเร็จสมบูรณ์ ด้วยธรรมะ ความถูกความดี ความตรง วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

การพึ่งพาธรรมะด้วยตนเอง

"พึ่งพาธรรมะด้วยตนเอง โดยการใช้จิตสำนึก ความเห็น เจตนา วิชา ที่ถูกที่ดีของตน ในการคิดธรรมะขึ้นมาปฏิบัติด้วยตนเอง แล้วเก็บบันทึกไว้ วิธีนี้เป็นวิธีที่จะทำให้ได้รับคุณของธรรมะสูงที่สุด"

การกระทำให้เป็นแนวบวก

การกระทำให้เป็นแนวบวก คือ การกระทำ สร้างสรรค์ ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม คุณธรรม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความตรง วิชา การรู้จักวางเฉย การรู้จักออกจาก ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง

วันพุธที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565

การปฏิบัติที่ทำให้เป็นปกติสุข

การปฏิบัติที่ทำให้เป็นปกติสุข คือ
๑. ไม่โลภในความมี
๒. ไม่ปฏิบัติอธรรม
๓. ปฏิบัติธรรมะ
๔. กระทำให้เป็นแนวบวก
๕. ใช้วิชาที่ถูกที่ดี

วันอังคารที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565

การใช้วิชา ทักษะ ความสามารถ พลัง

"วิชา ทักษะ ความสามารถ พลัง ในทางที่ถูกที่ดี มีอยู่หลายอย่าง หลายด้าน"
"ใช้วิชา ทักษะ ความสามารถ พลัง ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความตรง วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"เราควรฝึกวิชา ทักษะ ความสามารถ พลัง ในการกระทำธรรมะ ความถูกความดี ความตรง วิชา ความไม่เป็นกิเลส อย่างเป็นทางสายกลาง"
"เราควรใช้วิชา ทักษะ ความสามารถ พลัง ในการกระทำธรรมะ ความถูกความดี ความตรง วิชา ความไม่เป็นกิเลส อย่างเป็นทางสายกลาง"
"เราสามารถบำเพ็ญบารมีควบคู่ไปกับการใช้วิชา ทักษะ ความสามารถ พลัง ในทางที่ถูกที่ดีได้"

วันจันทร์ที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565

การให้กำลังใจกัน

"ควรให้กำลังใจกัน อย่างถูกต้อง"
"ให้กำลังใจตนเอง อย่างถูกต้อง"

การให้

การให้ก่อนรับ
"ให้ก่อนที่จะรับอย่างถูกหลักธรรม ถูกหลักวิชา น้อมนำ นำพาเขา จริงใจ เป็นกลาง เป็นธรรม ด้วยธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความปรารถนาดี วิชา ความเพียร การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

การให้
"ให้อย่างถูกหลักธรรม ถูกหลักวิชา รู้คุณแทนคุณ น้อมนำ นำพาเขา จริงใจ เป็นกลาง เป็นธรรม ด้วยธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความปรารถนาดี วิชา ความเพียร การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

การหาแบบถูก การหาแบบผิด

"การหาแบบถูก คือการหาอย่างเป็นธรรมะ ถูกหลักธรรม ถูกหลักวิชา จะทำให้ได้อย่างไม่เป็นโมฆะ หาได้เพียงพอต่อการใช้ได้"
"การหาแบบผิด คือการหาอย่างเป็นอธรรม ผิดหลักธรรม ผิดหลักวิชา จะทำให้ได้อย่างเป็นโมฆะ ไม่สามารถนำมาใช้ได้"

วันอาทิตย์ที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565

การวางเฉยสำหรับตนเอง ผู้อื่น หรือการกระทำ

การวางเฉยสำหรับตนเอง
"ในการรับให้ตนเองหรือกลุ่มของตนเอง สามารถวางเฉยไปด้วยได้"
"ในขณะทำเพื่อตนเองหรือทำให้ตนเอง สามารถวางเฉยไปด้วยได้"
"การวางเฉยสำหรับตนเอง จะเหมาะสำหรับกรณีที่ตนเองได้รับรูปหรือนามในด้านนั้นๆ เพียงพอแล้วหรือมากเกิน"

การวางเฉยสำหรับผู้อื่น
"ในการคิด พูด สื่อ กระทำเพื่อผู้อื่นหรือให้ผู้อื่น สามารถคิด พูด สื่อ กระทำสลับกับการวางเฉยได้"

การวางเฉยในการกระทำ
"การกระทำในด้านใดที่เพียงพอแล้วหรือมากเกิน สามารถวางเฉยในด้านนั้นๆ ไปด้วยได้"

วันเสาร์ที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565

การตั้งจิตเอาไว้ การเพิ่มให้

การตั้งจิตเอาไว้
"ตั้งจิตเอาไว้ที่ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

การเพิ่มให้
"ควรเพิ่มให้ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความถูกความดี วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง
ไม่ควรเพิ่มให้อธรรม ความผิดความไม่ดี วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส"
"ควรเพิ่มให้อย่างเป็นธรรมะ ความถูกความดี วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง
ไม่ควรเพิ่มให้อย่างเป็นอธรรม ความผิดความไม่ดี วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส"
ย่อ
"ควรเพิ่มให้ธรรมะ ไม่ควรเพิ่มให้อธรรม"
"ควรเพิ่มให้อย่างเป็นธรรมะ ไม่ควรเพิ่มให้อย่างเป็นอธรรม"

วันศุกร์ที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565

การนำเอาขันธ์เข้า

"ให้ขันธ์เข้ามาด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ให้ขันธ์เข้ามาด้วยความถูกความดี แล้วปฏิบัติความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"การให้ขันธ์เข้ามาด้วยความถูกความดี ความไม่เป็นกิเลส จะทำให้กระทำความถูกความดี ไม่ไปปฏิบัติอธรรม ไม่ทุกข์ ไม่เดือดร้อนได้"

วันพุธที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565

สรุปธรรมะ ๖ ข้อ

สรุปธรรมะ ๖ ข้อ คือ
๑. เมตตา
๒. กรุณา
๓. มุทิตา
๔. อุเบกขา
๕. ไม่เป็นอธรรม ไม่เบียดเบียน
๖. ไม่เป็นกิเลส

หลักธรรมะ ๖ คือ
- ปรารถนา คิด ปฏิบัติให้ตนเองหรือผู้อื่นถูก ดี ได้ดี มีความสุข อย่างเป็นกลาง เป็นธรรม
- ปรารถนา คิด ปฏิบัติให้ตนเองหรือผู้อื่นไม่ผิด ไม่ชั่ว ไม่ได้ไม่ดี ไม่ทุกข์ อย่างเป็นกลาง เป็นธรรม
- พลอยยินดีเมื่อเขาอยู่ดีมีสุข ได้ดีมีสุข
- การรู้จักวางเฉย รู้จักปล่อยวาง การรู้จักวางใจเป็นกลาง
- การไม่เบียดเบียน
- ความไม่เป็นกิเลส ความไม่มีกิเลส

ถูก หมายถึง ถูกคลองธรรม ถูกหลักวิชา
ผิด หมายถึง ผิดคลองธรรม ผิดหลักวิชา

วันจันทร์ที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565

จิตใจสูง จิตใจต่ำ

จิตใจสูง เกิดจากความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง

จิตใจต่ำ เกิดจากความผิด อธรรม ธรรมฝ่ายไม่ดี ความไม่ดี วิชาฝ่ายไม่ถูกไม่ดี กิเลส

วันเสาร์ที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565

อันดับของฝ่ายธรรมะ ฝ่ายกิเลส

อันดับความสำคัญของการกระทำ หรืออันดับความสุข ของฝ่ายธรรมะ
๑. ความไม่มีกิเลส ความไม่เป็นกิเลส
๒. ธรรมะ
๓. ธรรมฝ่ายดีงาม
๔. วิชา

อันดับความต้องการ หรืออันดับความสุข ของฝ่ายกิเลส
๑. กิเลส
๒. อธรรม
๓. ธรรมฝ่ายไม่ถูกไม่ดี
๔. วิชาฝ่ายไม่ถูกไม่ดี

สรุปเกี่ยวกับรูป นาม

 "การใช้รูป นาม อย่างไม่เป็นกิเลส จะทำให้ไม่เบียดเบียน หรือไม่ทุกข์ได้"

วันศุกร์ที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565

ทางเจริญ ทางเสื่อม

"ควรแยกออกว่าทางไหนเป็นทางเจริญ ทางไหนเป็นทางเสื่อม"
"ไม่มุ่งไปทางเสื่อม มุ่งไปทางเจริญ"

วันจันทร์ที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2565

วันอาทิตย์ที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2565

อันดับความสำคัญของเรา

อันดับความสำคัญของเรา ที่ควรเป็นคือ
๑. ธรรมะ
๒. วิชา

อันดับ ๑ ควรเป็นธรรมะ เพราะทำให้ถูกต้องและดีได้
อันดับ ๒ ควรเป็นวิชา เพราะวิชาจะทำให้อยู่ได้

ธรรมที่ชนะความโลภ ความโกรธ ความหลง

ธรรมที่ชนะความโลภ ความโกรธ ความหลงได้ คือ
- ความถูก ธรรมะ
- ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม
- วิชา
- ความพอเหมาะ ทางสายกลาง
- ความไม่เป็นกิเลส

การให้ทานอย่างไม่หวังผลตอบแทน

การให้ทานอย่างไม่หวังผลตอบแทน
"สามารถให้ทานธรรม รูป หรือนาม อย่างถูกหลักธรรม ถูกหลักวิชา ไม่เบียดเบียน ไม่หวังผลตอบแทนให้ตนเอง ไม่เป็นกิเลส ได้"

การกระทำ และหวังผลตอบแทน
"การกระทำใดๆ ก็ตาม เราสามารถหวังผลตอบแทนให้ตนเองอย่างไม่เป็นกิเลส หรือไม่หวังผลตอบแทนให้ตนเอง ได้"
"เราควรกระทำทั้ง ๒ แบบ คือหวังผลตอบแทนให้ตนเองอย่างไม่เป็นกิเลส หรือไม่หวังผลตอบแทนให้ตนเอง ตามความเหมาะสม"

การคิด การกระทำ ทางสายกลาง

การคิด
"ควรคิดอย่างเป็นทางสายกลาง คิดอย่างพอเหมาะพอดีด้วยความถูก ธรรมะ วิชา ไม่คิดมากเกิน ไม่คิดน้อยเกิน แล้วลงมือปฏิบัติอย่างถูกต้อง"
"การพัฒนาตนเอง จะสามารถทำให้คิดได้มากขึ้น มีคุณภาพดีขึ้น อย่างมีขอบเขต เป็นทางสายกลาง" 
ย่อ
"ควรคิดอย่างเป็นทางสายกลาง ไม่คิดมากเกิน ไม่คิดน้อยเกิน"

การกระทำ
"กระทำในทางที่ถูกที่ดีอย่างเป็นทางสายกลาง กระทำอย่างพอเหมาะพอดีด้วยความถูก ธรรมะ วิชา ไม่ตึงเกิน ไม่หย่อนเกิน ไม่มากเกิน ไม่น้อยเกิน"
​​​​​​"การพัฒนาตนเอง จะสามารถทำให้กระทำในทางที่ถูกที่ดีได้มากขึ้น มีคุณภาพดีขึ้น อย่างมีขอบเขต เป็นทางสายกลาง"
ย่อ
"กระทำในทางที่ถูกที่ดีอย่างเป็นทางสายกลาง ไม่ตึงเกิน ไม่หย่อนเกิน ไม่มากเกิน ไม่น้อยเกิน"

ยอม ยอมรับ การเชื่อ

ยอม ยอมรับ
"ยอมความถูกความดี ยอมรับความถูกความดี น้อมนำความถูกความดีมาปฏิบัติ"
"ไม่ควรยอมความผิดความไม่ดี ไม่ควรนำความผิดความไม่ดีมาปฏิบัติ"

การเชื่อ
"เชื่อ ในความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม เหตุผล ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความตรง ความจริง ความจริงใจ วิชา การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"เชื่อ ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม เหตุผล ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความตรง ความจริง วิชา การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
ย่อ
"เชื่อในความถูก เชื่อด้วยความถูก"

การวางแผน

"วางแผน ปฏิบัติตามแผน ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความรอบคอบ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความตรง ความจริง วิชา ความรู้ การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันเสาร์ที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2565

การรู้จักอภัย

"การรู้จักอภัยให้ ทั้งตนเองหรือผู้อื่น อย่างถูกต้อง จะทำให้เราสบายใจ ปลอดโปร่ง เบาใจ ไม่ยึดติด ไม่ทุกข์ใจ"

ส่วนบุคคล ส่วนรวม

ส่วนบุคคล ส่วนรวม
"ไม่ก้าวล่วงส่วนบุคคลของผู้อื่น แต่สามารถน้อมนำ นำพา ช่วยเหลือ สนับสนุนเขาในทางที่ถูกที่ดีได้"
"เมื่อจะใช้ส่วนรวม ไม่ควรละเมิดส่วนบุคคลของผู้อื่น"

การน้อมนำ นำพา ช่วยเหลือ สนับสนุน
"น้อมนำ นำพา ช่วยเหลือ สนับสนุนด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความตรง ความจริง ความจริงใจ วิชา การรู้จักวางเฉย การรู้จักออกจาก ความไม่หลง ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

การยินดีกับผู้อื่น

"ยินดีในความถูกความดีของผู้อื่น"
"ยินดีเมื่อผู้อื่นได้ดีมีความสุข"

วันศุกร์ที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2565

ความสุขที่แท้จริง

"ความสุขที่แท้จริง คือ ความสุขจากความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
ย่อ
"ความสุขที่แท้จริง คือ ความสุขจากความถูกความดี"
"ความสุขที่แท้จริง คือ ความสุขจากความไม่เป็นอธรรม ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันพฤหัสบดีที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2565

การสละ

"สละเพื่อความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ด้วยธรรมะ ความเพียร การไม่เบียดเบียนตนเองหรือผู้อื่น วิชา ทางสายกลาง"
"สละในสิ่งที่ยังไม่ได้ไปก่อน"
"สละในสิ่งที่ไม่ได้"

การวางใจเป็นกลาง วางเฉย

"การวางใจเป็นกลาง วางเฉย ทำได้โดยการใช้วิชา ไม่เอนเอียง ไม่ยึดติด ไม่ยึดมั่นถือมั่น วางเฉย ทางสายกลาง"
"การวางใจเป็นกลาง วางเฉย กระทำไปกับการไม่กังวล"
"ควรวางใจเป็นกลาง วางเฉยได้กับทุกๆ สิ่งทั้งรูปหรือนาม ด้วยทางสายกลาง"

ส่วนประกอบของทุกสิ่ง

ส่วนประกอบของสิ่งต่างๆ ประกอบไปด้วยรูป หรือนาม
รูป นาม จัดจำแนกอีกอย่างได้เป็น พื้นฐาน รูปในที่นี้หมายเป็นรูปธรรมที่ไม่ใช่พื้นฐาน อรูปหรือนามธรรม ธรรม

ความเห็นตามจริง

"ควรมีความเห็นตามจริงว่า สิ่งไหนเป็นสิ่งที่ถูกต้อง สิ่งไหนเป็นสิ่งที่ผิด"
"ควรมีความเห็นตามจริงว่า สิ่งไหนเป็นสิ่งที่ดี สิ่งไหนเป็นสิ่งที่ไม่ดี"
"ควรมีความเห็นตามจริงว่า สิ่งไหนกระทำแล้วทำให้เกิดความสุข สิ่งไหนกระทำแล้วทำให้เกิดความทุกข์"
"ควรมีความเห็นตามจริงว่า สิ่งไหนกระทำแล้วทำให้มี อยู่ได้ สิ่งไหนกระทำแล้วทำให้ไม่มี อยู่ไม่ได้"
"ควรมีความเห็นตามจริงว่า การกระทำแบบไหนทำให้แก้ปัญหาได้ การกระทำแบบไหนทำให้แก้ปัญหาไม่ได้"

สร้างความสุข

"สามารถสร้างความสุขที่ถูกหลักธรรมให้ตนเอง หรือผู้อื่น ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม วิชา ทางสายกลาง"
"สามารถสร้างและมีความสุขที่แท้จริงที่ถูกหลักธรรม ถูกหลักธรรมฝ่ายดีงาม ถูกหลักวิชา เป็นทางสายกลาง"

เมตตา

เมตตา คือ ธรรมที่ทำให้เกิดความถูก ความดี ได้ดี มีความสุข
มีเมตตา คือ มีความปรารถนา ปฏิบัติให้เกิดความถูก ความดี ได้ดี มีความสุข

"มีเมตตาต่อตนเองหรือผู้อื่น ด้วยความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ทางสายกลาง และวางเฉยได้"

สิ่งที่ไม่ควรเพิ่ม ไม่ควรกู้คืน

"ไม่ควรเพิ่มให้อธรรม หรือกิเลส"
"ไม่ควรกู้คืนอธรรม กิเลสเพื่อนำมาใช้ หรือพึ่งพาต่อ"

การไม่ปฏิบัติ ไม่สะสมความผิดความไม่ดี

"ไม่ปฏิบัติ ไม่สะสมความผิดความไม่ดีเอาไว้เลย"

ธรรมะในการอยู่อาศัยร่วมกัน

ธรรมะในการอยู่อาศัยร่วมกัน คือ
- มีศีลธรรม
- มีความเพียร
- มีวิชาที่ถูกต้อง
- เป็นกลาง
- เป็นธรรม
- ซื่อสัตย์
- ซื่อตรง
- ให้ รับ อย่างถูกต้อง รู้คุณแทนคุณ อย่างถูกต้อง

ศีลธรรม คือ ความประพฤติที่ดีที่ชอบ, ศีลและธรรม

แนวกลาง ๓ แนว

แนวกลาง ๓ แนว คือ
- แนวกลางที่เอนไปทางผิดหรือไม่ดีนิดๆ เป็นสิ่งที่ไม่ควรปฏิบัติ
- แนวกลางจริงๆ ไม่เอน เป็นสิ่งที่ปฏิบัติได้
- แนวกลางที่เอนไปทางถูกหรือดีนิดๆ เป็นสิ่งที่ปฏิบัติได้

สามารถตั้งหลักด้วยแนวกลางจริงๆ ไม่เอน หรือแนวกลางที่เอนไปทางถูกหรือดีนิดๆ ได้

ถูก คือ ถูกหลักธรรม ถูกคลองธรรม ถูกหลักวิชา ถูกกฎของธรรมชาติ
ผิด คือ ผิดหลักธรรม ผิดคลองธรรม ผิดหลักวิชา หรือผิดกฎของธรรมชาติ

แนวบวก แนวกลาง แนวลบ

"ควรปฏิบัติแนวบวก แนวกลาง แนวลบที่ไม่เป็นอธรรม อย่างไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง ไม่ควรปฏิบัติแนวลบที่เป็นอธรรม"
"ควรทำจิตใจให้เป็นแนวบวก หรือแนวกลาง อย่างไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"
"ควรขึ้นไปอยู่ อาศัยอยู่ที่แนวกลาง หรือแนวบวก อย่างไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"
"สามารถตั้งหลักด้วยแนวบวก แนวกลาง อย่างไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง ได้"
"ควรให้แนวบวก แนวกลาง แนวลบ มีขนาดไม่เกินขีดจำกัด"
"แนวบวกเกิดจากการมีอิสระโดยความตรง ซื่อสัตย์ ซื่อตรง สุจริต เป็นกลาง เป็นธรรม จริงใจ ไม่เบียดเบียน"
"แนวบวก แนวกลางเกิดจากการมีอิสระโดยการไม่คด ไม่โกง ไม่ลำเอียง ไม่เอาเปรียบ ไม่เห็นแก่ตัว ไม่เบียดเบียน"
"การก้าวไปข้างหน้าด้วยแนวบวก จะต้องก้าวควบคู่ไปกับแนวกลาง และแนวลบ อย่างเป็นวิชา ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส"

"กิเลสไม่ใช่แนวบวก ไม่ใช่แนวกลาง กิเลสเป็นแนวลบอย่างเป็นอธรรม"
"ความไม่เป็นกิเลสเป็นแนวกลาง เป็นแนวบวก หรือเป็นแนวลบอย่างไม่เป็นอธรรม"

แนวบวก คือ แนวบวกที่ถูกหลักธรรม ถูกหลักธรรมฝ่ายดีงาม ถูกคลองธรรม ถูกหลักวิชา ถูกกฎของธรรมชาติ
แนวกลาง คือ แนวกลางที่ไม่บวกและไม่ลบ
แนวลบที่ไม่เป็นอธรรม ใช้สำหรับการวางเฉย ปล่อยวาง หรือออกจาก ใช้ในการระบายสิ่งที่สิ้นสุดการใช้ ใช้การไม่ได้แล้ว ระบายสิ่งที่ผิดพลาด เสียหาย หรือล้มเหลว ทิ้งไป
แนวลบที่เป็นอธรรม คือ แนวลบที่ผิดหลักธรรม ผิดคลองธรรม ผิดหลักวิชา หรือผิดกฎของธรรมชาติ

เกี่ยวกับโอกาส

"หาโอกาส คว้าโอกาส กู้คืนโอกาส คว้าโอกาสคืน ซ่อมแซมโอกาส รักษาโอกาส ใช้โอกาสให้ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความตรง วิชา ความไม่เป็นกิเลส ด้วยทางสายกลาง"
"หาโอกาส คว้าโอกาส กู้คืนโอกาส คว้าโอกาสคืน ซ่อมแซมโอกาส รักษาโอกาส ใช้โอกาสอย่างเป็นความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความตรง วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"เมื่อพลาดโอกาสไปแล้ว ควรไม่ยึดมั่นถือมั่น ควรวางเฉย สละ แล้วตั้งหลักใหม่"

การฟื้นคืน นำมาใช้ต่อ กู้คืน นำกลับมาใช้ใหม่

"ฟื้นคืน นำมาใช้ต่อ กู้คืน หรือนำกลับมาใช้ใหม่ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ฟื้นคืน กู้คืนความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ด้วยทางสายกลาง"

การกระทำ ๔ จุด

"ในการกระทำใดๆ ก็ตาม ควรกระทำครบทั้ง ๔ จุด คือ 
พื้นฐาน รูปในที่นี้หมายเป็นรูปธรรมที่ไม่ใช่พื้นฐาน อรูปคือนามธรรม ธรรม หรือรูป นาม 
อย่างถูกหลักธรรม ถูกหลักธรรมฝ่ายดีงาม เป็นความดีงาม ถูกหลักวิชา ถูกกฎของธรรมชาติ มีขีดจำกัด ไม่ยึดติด ไม่ยึดมั่นถือมั่น ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"

สมบัติรูป สมบัตินาม

สมบัติรูป คือ สมบัติในส่วนที่เป็นรูป
สมบัตินาม คือ สมบัติในส่วนที่เป็นนาม

"ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ความไม่มีกิเลส ทางสายกลาง เป็นสิ่งที่มีค่ามากกว่าสมบัติรูป สมบัตินามที่ไม่ใช่ขันธ์"
"ขันธ์ของมนุษย์ เป็นสิ่งที่มีค่ามากกว่าสมบัติรูป สมบัตินามที่ไม่ใช่ขันธ์"
"สมบัติรูป สมบัตินามเป็นสิ่งที่จำเป็นจะต้องใช้ในตอนยังอยู่"
"สามารถหา มี ใช้ เก็บสมบัติรูป สมบัตินามอย่างสุจริต มีสติ ไม่เป็นกิเลสได้"
"ควรหา เรียง ทำ สร้าง จัดการ เก็บ ใช้ ให้ แบ่งปันสมบัติรูป สมบัตินามอย่างถูกหลักธรรม ถูกหลักธรรมฝ่ายดีงาม เป็นความดีงาม ถูกหลักวิชา ถูกกฎของธรรมชาติ เป็นประโยชน์ต่อตนเองหรือผู้อื่น พอเหมาะ มีสติ ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"
"ควรหา เรียง ทำ สร้างสมบัติรูป สมบัตินาม อย่างพอเหมาะ ไม่มากเกิน ไม่น้อยเกิน"
"ไม่ยึดติด ไม่ยึดมั่นถือมั่นในสมบัติรูป สมบัตินามทั้งปวง"
"ไม่ควรหา ใช้ เก็บสมบัติรูป สมบัตินาม อย่างเป็นอธรรม เป็นโทษต่อตนเองหรือผู้อื่น ขาดสติ หรือเป็นกิเลส"
"ไม่ควรเบียดเบียนผู้อื่น หรือตนเอง เนื่องจากต้องการมีหรือใช้สมบัติรูป สมบัตินาม"

การเก็บเอาไว้ นำมาใช้
"การเก็บเอาไว้โดยการแปลงพื้นฐาน รูปหรือรูปธรรม อรูปหรือนามธรรม ธรรม ไปเป็นสมบัติรูป สมบัตินาม อย่างเป็นธรรมะ เป็นวิชา ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส แล้วเก็บเอาไว้
การนำที่เก็บไว้มาใช้โดยการแปลงสมบัติรูป สมบัตินามที่เก็บไว้ ไปเป็นพื้นฐาน รูปหรือรูปธรรม อรูปหรือนามธรรม ธรรม ต่อมาแปลงไปเป็นธรรม อย่างเป็นธรรมะ เป็นวิชา ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส แล้วนำมาใช้"

มีปัญญา รอบคอบ ไม่ประมาท

มีปัญญา
"มีปัญญา ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความจริง วิชา การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

รอบคอบ ไม่ประมาท
"มีความรอบคอบ ไม่ประมาท ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม วิชา การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันจันทร์ที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2565

ไม่ควรหลงใหล

ไม่ควรหลงใหล
"ไม่ควรหลงใหล ใช้อธรรม วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส ควรเข้าหา ใช้ธรรมะ วิชา ความไม่เป็นกิเลส"

วันพฤหัสบดีที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2565

ธรรมที่ทำให้โลกเป็นโลกที่ดี เจริญ

"ธรรมที่ทำให้โลกเป็นโลกที่ดี เจริญ คือ ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา การรู้จักวางเฉย การรู้จักออกจาก การรู้จักให้รู้จักรับ การรู้จักสละ ความอิสระ ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

ย่อ
"ธรรมที่ทำให้โลกเป็นโลกที่ดี เจริญ คือ ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันพุธที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2565

โอบอ้อม อารี รักษาจิตใจ

โอบอ้อม อารี รักษาจิตใจ
"โอบอ้อม อารี รักษาจิตใจตนเอง รักษาจิตใจผู้อื่น รักษาจิตใจกัน ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

การมีสุขภาพจิตที่ดี
"มีสุขภาพจิตที่ดีได้ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา การรู้จักวางเฉย การรู้จักออกจาก การรู้จักให้รู้จักรับ การรู้จักสละ ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันอาทิตย์ที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2565

สิ่งที่ควรให้ถูกต้องและดีอยู่

สิ่งที่ควรให้ถูกต้องและดีอยู่ คือ
- สัญชาตญาณ
- จิตใต้สำนึก
- จิตสำนึก
- ความเห็น
- เจตนา
- ความคิด
- การกระทำ
- การจัดการ และการแก้ปัญหา

ถูกต้อง หมายถึง ถูกหลักธรรม ถูกคลองธรรม ถูกหลักวิชา

วันพุธที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2565

เป็นเพื่อน เป็นมิตรกับธรรมะ

"เป็นเพื่อน เป็นมิตรกับความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"จริงใจ ซื่อสัตย์ ซื่อตรงต่อความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันจันทร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2565

การกระทำต้นทาง

"การกระทำต้นทางคือการทิ้งอธรรม สละอธรรม แล้วตั้งหลักด้วยธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความเป็นกลางในสภาวธรรม"

ประสบการณ์

ประสบการณ์
"มีประสบการณ์ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความจริง วิชา การรู้จักวางเฉย การรู้จักออกจาก ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ประสบการณ์จะทำให้เราพัฒนา ก้าวหน้าในทางที่ถูกที่ดีได้"

ยึดถือจนเกินไป
"ไม่ควรยึดถือจนเกินไป"

การทำตามลำดับความสำคัญหรือความจำเป็น
"ควรกระทำจุดที่สำคัญหรือจำเป็นก่อน แล้วกระทำจุดที่เป็นรายละเอียดตามมา"

การใช้ แบ่งปัน

"หา เรียง ทำ สร้าง เก็บพื้นฐาน รูปในที่นี้หมายเป็นรูปธรรมที่ไม่ใช่พื้นฐาน อรูปคือนามธรรม ธรรม หรือรูป นาม อย่างถูกต้อง ด้วยธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

"ใช้พื้นฐาน รูปในที่นี้หมายเป็นรูปธรรมที่ไม่ใช่พื้นฐาน อรูปคือนามธรรม ธรรม หรือรูป นาม อย่างถูกต้อง เป็นประโยชน์ พอเหมาะ ด้วยธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

"แบ่งปันพื้นฐาน รูปในที่นี้หมายเป็นรูปธรรมที่ไม่ใช่พื้นฐาน อรูปคือนามธรรม ธรรม หรือรูป นาม ให้ตนเองหรือผู้อื่น อย่างถูกต้อง จริงใจ ด้วยธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"แบ่งปันธรรมะ วิชา ให้ผู้อื่นด้วยธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

การเลือก อธิษฐาน

"เลือกความถูกความดี ความไม่มีกิเลส
อธิษฐานที่จะทำถูกทำดี ไม่มีกิเลส"

การทำ
"ทำเพื่อความถูก"

การนำทาง
"ให้ความถูกนำทางให้เรา"

การตั้งหลัก
"ตั้งหลักด้วยความถูกความดี ความไม่เป็นกิเลส"
"ตั้งหลักด้วยธรรมชาติฝ่ายที่ถูกที่ดี"

การพึ่งพา พึ่งพิง
"พึ่งพา พึ่งพิงธรรมชาติฝ่ายที่ถูกที่ดี"

เป้าหมาย
"มีเป้าหมายเป็นความถูกต้อง ความดีงาม ความไม่มีกิเลส"

การหวังผลตอบแทน

"เมื่อกระทำแล้ว สามารถหวังผลตอบแทนให้ตนเองหรือผู้อื่น อย่างมีค่า เป็นธรรมะ ถูกหลักวิชา ถูกกฎของธรรมชาติ ไม่เป็นกิเลส ไม่ยึดติด ได้"
"เมื่อกระทำแล้ว สามารถไม่หวังผลตอบแทน แต่หวังผลให้ธรรมะ ความถูกความดี ตนเองหรือผู้อื่น อย่างมีค่า เป็นธรรมะ ถูกหลักวิชา ถูกกฎของธรรมชาติ ไม่เป็นกิเลส ได้"

ความไตร่ตรอง ความพิจารณา

"ไตร่ตรอง พิจารณา ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม คุณธรรม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา ความรู้ ความจริง ความตรง ความไม่เบียดเบียน ความมีเหตุผล ความรอบคอบ ความไม่หลง ความไม่ยึดติด ความไม่ยึดมั่นถือมั่น การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

รู้จักการแก้ไข ปรับปรุง

"รู้จักการแก้ไข ปรับปรุง อย่างมีคุณต่อผู้อื่นหรือตนเอง ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม คุณธรรม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา ความรู้ ความจริง ความตรง ความไม่เบียดเบียน ความมีเหตุผล ความรอบคอบ ความไม่หลง ความไม่ยึดติด ความไม่ยึดมั่นถือมั่น การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

แรงใจ พลังใจ

"ให้ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความซื่อสัตย์ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม การรู้คุณแทนคุณ ความตรง ความจริง ความจริงใจ วิชา การไม่เบียดเบียน ความพอเหมาะ การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง เป็นแรงใจ พลังใจให้เรา"
"ไม่ควรให้มีแรงใจ พลังใจในการทำผิดทำไม่ดี"

ย่อ
"ให้ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความถูกความดี วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง เป็นแรงใจ พลังใจให้เรา"

การออกจากสิ่งที่กำลังทำ

"เมื่อเราต้องการที่จะหยุด หยุดพัก เราสามารถออกจากสิ่งที่กำลังคิดหรือกระทำในส่วนที่ต้องการจะหยุด หยุดพักนั้นๆ ได้"
"ออกจาก ด้วย ความถูก สติ วิชา การวางเฉย ความไม่เป็นกิเลส"
"การหยุดพัก ควรหยุดพักอย่างพอควร"

อยู่กับวิชา

"ควรอยู่กับวิชา ควรปฏิบัติอย่างถูกต้องต่อวิชา โดยไม่หลง รู้จักการวางเฉย ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"
"สามารถอยู่กับวิชาและเรียนรู้จากวิชาได้ด้วยทางสายกลาง"

การกระทำที่ควร

"การกระทำที่ควร คือ
กระทำอย่างเป็นประโยชน์ต่อผู้อื่นหรือตนเอง กระทำอย่างไม่เบียดเบียน กระทำอย่างถูกหลักวิชา ใช้วิชา กระทำอย่างไม่เป็นกิเลส"

การได้

"ควรได้ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา การไม่เบียดเบียน การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ได้ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา การไม่เบียดเบียน การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ได้มาแล้วควรรู้จักใช้อย่างเป็นประโยชน์ รู้จักเก็บ รู้จักให้อย่างเป็นประโยชน์ รู้คุณ แทนคุณ โดยเป็นวิชา ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"

พลัง กำลังในการทำถูกทำดี

พลัง กำลังในการทำถูกทำดี
"การปฏิบัติความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง จะทำให้เรามีพลัง มีกำลังในการทำถูกทำดี ไม่ทำผิดไม่ทำไม่ดี ได้"

การทำถูกทำดี
"การทำถูกทำดี คือการกระทำด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความตรง ความพอเหมาะ ความจริง ความจริงใจ วิชา การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

การกะ ประมาณ

"รู้จักการกะ ประมาณว่าสิ่งไหนมากเกิน สิ่งไหนน้อยเกิน สิ่งไหนพอดี พอเหมาะ"
"รู้จักการกะ ประมาณรูป นาม ด้วยวิชา ธรรมชาติ ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"รู้จักการกะ ประมาณรูป นามในส่วนที่เกี่ยวกับตนเอง"
"รู้จักกะ ประมาณตนเอง กระทำอย่างพอเหมาะ เหมาะสมกับตนเอง เป็นทางสายกลาง"
"การหมั่น ทดลอง ฝึกฝนตนเอง ฝึกฝนด้วยการปฏิบัติจริง จะทำให้เราสามารถปฏิบัติได้มากหรือมีคุณภาพดีขึ้น"

วันเสาร์ที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2565

ความสำเร็จ

"มีความสำเร็จ ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม จิตสำนึกที่ถูกที่ดี ความเห็นที่ถูกที่ดี ความปรารถนาที่ถูกที่ดี เจตนาที่ถูกที่ดี ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความตรง ความจริง ความจริงใจ วิชา ความรู้ ความพอเหมาะ การรู้จักบันทึก รู้จักเก็บบันทึก การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

ย่อ
"มีความสำเร็จ ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

การพัฒนาความสามารถ พัฒนาตนเอง

การพัฒนาความสามารถ
"ควรรู้ความสามารถของตนเองที่มีอยู่ตามจริง แล้วพัฒนาตนเองด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความตรง วิชา การรู้จักวางเฉย ความไม่โลภ ความไม่หลง ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ
"ในการกระทำ ควรใช้ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างละครึ่ง"

การพัฒนาตนเอง
"ควรรู้ให้เพียงพอ พัฒนาตนเองในทางที่ถูกที่ดีให้เพียงพอ ทันเวลา ด้วยธรรมะ กฎของธรรมชาติ ความเพียร วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

การทำถูกทำดี ความเข้าใจ

การทำถูกทำดี
"การทำถูกทำดี กระทำได้โดยการใส่ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ลงในการกระทำ ด้วยทางสายกลาง"
"เมื่อใส่ธรรมะ วิชาลงในการกระทำแล้ว ควรตั้งมั่น เพียร พยายาม ประคับประคอง อดทน เข้มแข็ง สู้ เพื่อให้กระทำสำเร็จ ด้วยทางสายกลาง"

ความเข้าใจ
"ความเข้าใจ ควรเข้าใจตามเหตุ ผล อย่างถูกต้องตามจริง เป็นกลาง ไม่ลำเอียง รู้จักการวางเฉย ไม่ยึดติด ไม่ยึดมั่นถือมั่น ไม่หลง ไม่เป็นกิเลส ด้วยทางสายกลาง"

มีค่า มีประโยชน์ต่อขันธ์

"ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความจริงใจ วิชา ความพอเหมาะ การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง เป็นสิ่งที่มีค่า มีประโยชน์ต่อขันธ์ จึงควรปฏิบัติ"
"ควรเลือกรับสิ่งที่มีค่า มีประโยชน์ต่อขันธ์ มาให้ขันธ์"
"ไม่ควรเลือกสิ่งที่ไม่มีค่า ไม่มีประโยชน์ หรือมีโทษต่อขันธ์ มาให้ขันธ์"

การพอใจ การตั้งหลัก การตั้งอยู่

การพอใจ
"พอใจในความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม การทำถูกทำดี วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"พอใจจากความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม การทำถูกทำดี วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
ย่อ
"พอใจในความถูกความดี ความไม่เป็นกิเลส"

การตั้งหลัก
"ตั้งหลักด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา การรู้คุณแทนคุณ ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
หรือ
"ตั้งหลักด้วยความถูกความดี ความไม่เป็นกิเลส"
"ตั้งหลักด้วยธรรมชาติฝ่ายที่ถูกที่ดี"

การตั้งอยู่ ตั้งมั่นอยู่ที่ควร
"ตั้งอยู่ ตั้งมั่นอยู่ที่ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง ถูกกฎของธรรมชาติ"

การอยู่

"อยู่ด้วยความถูกความดี วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

ย่อ
"อยู่ด้วยความถูกความดี อย่างไม่เป็นกิเลส"

เจตนา ไม่กระทำผิดจากเป้าหมาย

เจตนา
"ควรมีเจตนาที่แท้จริงที่ถูกที่ดี"
"ควรมีเจตนาที่ถูกที่ดี ไม่ควรมีเจตนาที่ไม่ถูกที่ไม่ดี"
"การมีเจตนาที่ถูกที่ดี แล้วลงมือปฏิบัติอย่างถูกต้องให้สำเร็จ ด้วยธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง และการหักห้ามไม่ให้มีเจตนาที่ไม่ถูกที่ไม่ดี ไม่กระทำการที่ไม่ถูกที่ไม่ดี จะสามารถแก้ปัญหาได้"

ไม่กระทำผิดจากเป้าหมาย
"ควรมีเป้าหมายที่แท้จริงที่ถูกที่ดี ไม่ควรกระทำผิดจากเป้าหมายที่แท้จริงที่ถูกที่ดี ด้วยธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

การเปรียบเทียบ

"เปรียบเทียบอย่างถูกหลักธรรม ถูกหลักวิชา ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง
ไม่เปรียบเทียบอย่างผิดหลักธรรม ผิดหลักวิชา เป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส"
"เปรียบเทียบด้วยความจริง ความตรง ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ไม่ลำเอียง"
"เปรียบเทียบอย่างถูกต้อง เพื่อการปรับปรุง พัฒนา"
"เปรียบเทียบอย่างถูกต้อง เพื่อปรับปรุง พัฒนาตนเอง"

สรุปการทำที่ควร

สรุปการทำที่ควร
"ในการทำอะไรก็ตามควรทำด้วยความถูก ธรรมะ วิชา ความไม่เบียดเบียน ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

ไม่ลังเล ไม่ท้อถอย ไม่ถอดใจ

"ไม่ลังเล ไม่ท้อถอย ไม่ถอดใจในความถูกความดี ธรรมชาติฝ่ายที่ถูกที่ดี ความไม่เป็นกิเลส"

สวมบทบาทในใจ

"สามารถสวมบทบาทในใจ ถ้าเราเป็นเขา เราจะทำอย่างไร จะแก้ปัญหาอย่างไร ควรทำให้ถูกให้ดี"

วันศุกร์ที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2565

ธรรมที่ทำให้มีความสุข ไม่ทุกข์

"การปฏิบัติความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความตรง ความจริง วิชา ความพอเหมาะ การรู้จักวางเฉย การรู้จักออกจาก การรู้จักให้รู้จักรับ การรู้จักสละ ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง จะทำให้มีความสุข ไม่เบียดเบียนกัน แก้ปัญหาได้ ไม่ทุกข์"

วันพฤหัสบดีที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2565

ควรทำ ไม่ควรทำ

"ควรทำในสิ่งควรทำคือธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ไม่ควรทำในสิ่งไม่ควรทำคืออธรรม"
"สิ่งไม่ควรทำคือการแย่ง อย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส"

วันอังคารที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2565

รักษาตน รักษาผู้อื่น

"รักษาตน รักษาผู้อื่น โดยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง ความสม่ำเสมอ เสมอต้นเสมอปลาย"
ย่อ
"รักษาตน รักษาผู้อื่น ด้วยความถูกความดี ความไม่เป็นกิเลส"

ขีดจำกัด ทางสายกลาง

"การกระทำอย่างถูกหลักธรรม เป็นวิชา ถูกกฎของธรรมชาติ เหมาะสมตามกาล เป็นทางสายกลาง ไม่เกินขีดจำกัดตามหลักธรรม ตามหลักวิชา ตามกฎของธรรมชาติ ตามกาล จะทำให้กระทำสำเร็จ แก้ปัญหาได้ ไม่เป็นทุกข์"
"การกระทำอย่างมีขีดจำกัดถูกต้อง ตามหลักธรรม ตามหลักวิชา ตามกฎของธรรมชาติ ตามกาล เป็นทางสายกลาง จะทำให้เกิดความเป็นธรรม มีความสุขได้"

วันจันทร์ที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2565

กล้า กล้าหาญ เข้มแข็ง สู้ อดทน

กล้า กล้าหาญ เข้มแข็ง สู้ อดทน
"กล้า กล้าหาญ เข้มแข็ง สู้ อดทน ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา ความไม่เบียดเบียน การรู้จักวางเฉย ปล่อยวาง การรู้จักออกจาก ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

กล้า อดทน
"มีความกล้า ในการกระทำความถูกความดี อย่างเป็นทางสายกลาง"
"มีความอดทน ในการกระทำความถูกความดี อย่างเป็นทางสายกลาง"

ความเพียร พยายาม

ความเพียร พยายาม
"มีความเพียร พยายาม ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา ความไม่เบียดเบียน การรู้จักวางเฉย ปล่อยวาง การรู้จักออกจาก ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

ความเพียรพยายาม ความอดทน
"ควรมีความเพียรพยายาม ความอดทนในการทำความถูก"
"ควรมีความเพียรพยายาม ความอดทนในการทำความถูก ให้เพียงพอ"

การสร้างสรรค์

"สร้างสรรค์ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

สร้างเหตุที่ถูกที่ดี

"สร้างเหตุเป็นการกระทำความถูกความดี จะทำให้มีผลเป็นมีความสงบสุข มีความสุข ได้ดี อยู่ดี"
"สร้างเหตุที่ถูกที่ดี เพื่อให้มีผลที่ถูกที่ดี"
"สร้างเหตุที่ถูกที่ดีได้ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"กระทำเหตุที่ไม่เป็นกิเลส ทำให้มีผลที่ไม่เป็นกิเลส"
"สร้างเหตุที่ถูกที่ดีต่อตนเอง หรือผู้อื่น"

การถือ

การถือที่ควร คือ
"ถือธรรมะ ความถูกความดี ธรรมฝ่ายดีงาม สิ่งที่ถูกที่ดีหรือแนวบวก สิ่งที่เป็นกลางหรือแนวกลาง แนวลบที่ไม่เป็นอธรรม วิชา ความไม่เป็นกิเลส"

"การถือที่ถูก ไม่ควรยึดมั่นถือมั่น ยึดติด หรือหลง"

การพัก ตั้งหลัก

"การพัก ตั้งหลัก ทำได้โดยการปฏิบัติเป็นแนวกลาง วางใจเป็นกลาง วางเฉย ปล่อยวาง ออกจาก"

เอาชนะอธรรม กิเลส

"เอาชนะอธรรม กิเลส ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"เอาชนะอธรรม กิเลสในตนเอง แล้วไม่ปฏิบัติอธรรม กิเลส"
"ไม่เป็นเจ้าของอธรรม กิเลส"

วันอาทิตย์ที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2565

การปฏิบัติเกี่ยวกับอธรรม อวิชา กิเลส

- ไม่พึงพอใจ ไม่ปรารถนาในอธรรม อวิชา กิเลส
- ไม่ให้อธรรม อวิชา กิเลส อยู่เหนือธรรมะ วิชา ความไม่เป็นกิเลส ไม่ให้อธรรมมาก่อนธรรมะ ไม่ให้อวิชามาก่อนวิชา ไม่ทำให้กิเลสมาก่อนความไม่เป็นกิเลส
- ไม่ยึด ติด พึ่ง พึ่งพา ใช้อธรรม อวิชา กิเลส
- ฝืน อดทนอดกลั้นต่ออธรรม กิเลส
- เว้นอธรรม อวิชา กิเลส
- ไม่คิด พูด สื่อ ปฏิบัติอย่างเป็นอธรรม อวิชา กิเลส
- ตัดอธรรม ตัดอวิชา ตัดกิเลส
- ถอนอธรรม ถอนอวิชา ถอนกิเลส

อวิชา คือ ความไม่มีวิชา วิชาที่ผิดที่ไม่ดี

วันเสาร์ที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565

สิ่งที่ถูกที่ดี

สิ่งที่ถูกที่ดี คือสิ่งที่ถูกหลักธรรม ถูกหลักธรรมฝ่ายดีงาม หรือถูกหลักวิชา

"มีเป้าหมายเป็นสิ่งที่ถูกที่ดี"
"ปรารถนาในสิ่งที่ถูกที่ดี"
"มีแรงผลักดันที่ถูกที่ดี"
"เลือกในสิ่งที่ถูกที่ดี"
"เข้าหาในสิ่งที่ถูกที่ดี"
"ให้สิ่งที่ถูกที่ดีนำทางให้"
"ฝึกในสิ่งที่ถูกที่ดี"
"ทำในสิ่งที่ถูกที่ดี"
"พึ่งพาในสิ่งที่ถูกที่ดี"
"รับในสิ่งที่ถูกที่ดี"
"ให้ในสิ่งที่ถูกที่ดี"
"ช่วยเหลือด้วยสิ่งที่ถูกที่ดี"
"น้อมนำ นำพาในสิ่งที่ถูกที่ดี"

วันพฤหัสบดีที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2565

ทำ ใช้ต้นฉบับ

"ควรทำต้นฉบับขึ้นมาอย่างถูกหลักธรรม ถูกหลักวิชา ถูกกฎของธรรมชาติ แล้วนำมาใช้ ปรับใช้หรือประยุกต์ใช้ในงานต่างๆ"
"สามารถปรับปรุง แก้ไข เพิ่มเติมต้นฉบับให้ถูกต้องหรือดีขึ้นได้"
"การทำ ใช้ต้นฉบับอย่างถูกต้อง จะทำให้เป็นทางสายกลาง ไม่หย่อนเกิน ไม่ตึงเกินได้"

ต้นฉบับ หมายถึง แบบแผนการกระทำที่เป็นต้นฉบับ

วันพุธที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2565

บรรเทากิเลส ความโลภ โกรธ หลง

"บรรเทากิเลส ความโลภ โกรธ หลง ได้โดยการปฏิบัติความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา การรู้จักวางเฉย การรู้จักออกจาก ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง อย่างสม่ำเสมอ เสมอต้นเสมอปลาย"

วันจันทร์ที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2565

ค่าของความถูก

"ไม่ควรมองข้ามค่าของความถูก"
"ควรสนใจความถูกและค่าของความถูก"
"ควรดูค่าของความถูก"
"ควรปฏิบัติให้มีค่าของความถูกมีเพียงพอ"

ค่า เป็นเชิงปริมาณ มาก น้อย
ความถูก คือ ความถูกหลักธรรม ถูกหลักวิชา

วันอาทิตย์ที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2565

เว้นช่องไฟทางนาม มิติ

เว้นช่องไฟทางนาม
"ควรเว้นช่องไฟทางนามอย่างถูกหลักธรรม ถูกหลักวิชา ถูกกฎของธรรมชาติ ไม่เป็นกิเลส ด้วย"

มิติ
"ที่ที่อยู่จริงจะมีหลายมิติ
การคิด พูด สื่อ กระทำ จริงๆ จะมีหลายมิติ"
"สามารถคิด พูด สื่อ กระทำทีละหลายมิติได้ตามหลักวิชา"

มิติ คือ การวัด ด้าน มุมมอง

วันเสาร์ที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2565

การกระทำ และที่ควรอยู่

การกระทำ และที่ควรอยู่
"กระทำความถูกความดี และอยู่ในที่ไม่เป็นความโลภ ไม่เป็นความโกรธ ไม่เป็นความหลง"

การจัดการความโลภ ความโกรธ ความหลง
"สามารถแยกความโลภ ความโกรธ ความหลง ออกจากกันด้วยธรรมะ การวางเฉย วิชา แล้วจัดการให้ไม่โลภ ไม่โกรธ ไม่หลง ไปทีละอย่าง"
"สามารถแยกความโลภออกจากกันด้วยธรรมะ การวางเฉย วิชา แล้วจัดการให้ไม่โลภไปทีละอย่าง"
"สามารถแยกความโกรธออกจากกันด้วยธรรมะ การวางเฉย วิชา แล้วจัดการให้ไม่โกรธไปทีละอย่าง"
"สามารถแยกความหลงออกจากกันด้วยธรรมะ การวางเฉย วิชา แล้วจัดการให้ไม่หลงไปทีละอย่าง"

ไม่เป็นความโลภ ไม่เป็นความโกรธ ไม่เป็นความหลง
"ไม่เป็นความโลภ ไม่เป็นความโกรธ ไม่เป็นความหลง โดยการปฏิบัติความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

เป็นประโยชน์ เป็นโทษ
"ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง เป็นสิ่งที่เป็นประโยชน์ ไม่เป็นโทษ จึงควรปฏิบัติ"
"การเบียดเบียน เป็นสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์ เป็นโทษต่อทั้งตนเองและผู้อื่น จึงไม่ควรเบียดเบียนทั้งตนเองและผู้อื่น"

การไม่เบียดเบียนตนเอง
"การเบียดเบียนตนเอง คือ การทำให้ตนเองเป็นทุกข์ เดือดร้อน การปฏิบัติอธรรม เบียดเบียนผู้อื่น การมีและใช้วิชาที่ผิดที่ไม่ดี การปฏิบัติอย่างเป็นกิเลส"
"การไม่เบียดเบียนตนเอง คือ การทำให้ตนเองไม่เป็นทุกข์ ไม่เดือดร้อน การไม่ปฏิบัติอธรรม ไม่เบียดเบียนผู้อื่น การมีและใช้วิชาที่ถูกที่ดี การปฏิบัติอย่างไม่เป็นกิเลส"

วันอังคารที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2565

สิทธิ์ในความถูกความดี

"การทำให้มีสิทธิ์ในความถูกความดี ทำได้โดยการปฏิบัติธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความถูกความดี วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ควรได้รับ มี รักษา และใช้สิทธิ์ในความถูกความดี คือ สิทธิ์ในธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ในการกระทำใดๆ ก็ตาม ควรมีและใช้สิทธิ์ในความถูกความดีสำหรับการกระทำนั้นๆ"

วันเสาร์ที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2565

แรงขันธ์

"ออกแรงขันธ์อย่างมีขีดจำกัดด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"เราสามารถพัก เพื่อฟื้นแรงขันธ์ อย่างถูกหลักธรรม ถูกหลักวิชา ถูกกฎของธรรมชาติ ไม่เป็นกิเลส ได้"
"ออกแรงขันธ์ในทางที่ถูกที่ดีด้วยวิชาให้เพียงพอ"
ย่อ
"มีแรงขันธ์ด้วยความถูกความดี"

ใจไม่ได้ดื้อด้าน ใจไม่ได้ผิดหรือไม่ดี

ใจไม่ได้ดื้อด้าน
"ความจริงใจไม่ได้ดื้อด้าน แต่ตัวที่ดื้อด้านคือกิเลสตัณหา
เราต้องหยุดมัน หยุดความดื้อด้านของใจ"

ใจไม่ได้ผิดหรือไม่ดี
"เดิมใจไม่ได้ผิดหรือไม่ดี แต่ตัวที่ผิดหรือไม่ดีคือกิเลสตัณหา
เราต้องหยุดมัน หยุดความผิดความไม่ดีของใจ"

วันศุกร์ที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2565

สรุปข้อคิดธรรมะ

สรุปข้อคิดธรรมะ สิ่งที่ควร คือ
"กระทำความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา อย่างไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"

ไม่เป็นกิเลส คือ ไม่เป็นความโลภ ไม่เป็นความโกรธ ไม่เป็นความหลง

หรือ
"กระทำความถูกความดี ไม่เป็นความโลภ ไม่เป็นความโกรธ ไม่เป็นความหลง"

ความผิดพลาดในการกระทำ

ความผิดพลาดในการกระทำ
"การกระทำบางอย่างก็ผิดพลาดได้บ้าง แล้วแก้ไขซ่อม การกระทำบางอย่างหลายๆ อย่างก็ไม่สามารถผิดพลาดได้เลย หากผิดพลาดก็จะต้องเริ่มต้นทำใหม่"

ความผิดพลาดในการทำงาน
"การทำงานจะผิดพลาดได้บ้าง แล้วแก้ไขซ่อม"

ความถูก

"ไม่กระทำความผิด กระทำความถูก"

สิทธิ์ในการกระทำความถูกความดี

"ไม่มีผู้ใด แม้แต่ธรรมชาติก็ตามที่จะตัดสิทธิ์ในการกระทำความถูกความดีของเราได้"

การทำ ใช้ มี

"หากผิดหลักคลองธรรม ก็ยังไม่ทำ ยังไม่ใช้ ยังไม่มี หากถูกหลักคลองธรรม ก็ทำได้ ใช้ได้ มีได้"

การเรียงถูกเนื้อนาม ถูกลำดับ

"ควรเรียงถูกเนื้อนาม ถูกลำดับ อย่างถูกหลักธรรม ถูกหลักวิชา ถูกกฎของธรรมชาติ ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"

ขอบเขตจำกัด ขีดจำกัด

"ควรมีขอบเขตจำกัด มีขีดจำกัดอย่างถูกหลักธรรม ถูกหลักวิชา ถูกกฎของธรรมชาติ ตามกาล เป็นทางสายกลาง ในทุกๆ ด้าน"
"ไม่ควรเกินขอบเขตจำกัด หรือเกินขีดจำกัด"

การตั้งหลัก

"ตั้งหลักด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา การรู้คุณแทนคุณ ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ในตอนเริ่มต้น การตั้งหลักควรพึ่งพาตนเองให้มากที่สุด และรู้คุณแทนคุณ"
หรือ
"ตั้งหลักด้วยความถูกความดี ความไม่เป็นกิเลส"
"ตั้งหลักด้วยธรรมชาติฝ่ายที่ถูกที่ดี"

วันพฤหัสบดีที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2565

อยู่กับปัจจุบัน

"อยู่กับปัจจุบัน ไม่กังวลอดีตหรืออนาคต
ปัจจุบันที่ดี จะทำให้อนาคตดีได้"

การใช้

"ใช้ อย่างมีค่า มีประโยชน์ต่อตนเองหรือผู้อื่น พอเหมาะ ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม การรู้คุณแทนคุณ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ใช้ในส่วนของตนเอง ไม่ใช้ในส่วนของผู้อื่น"

ลักษณะของการมีกิเลส ความไม่เป็นกิเลส

ลักษณะของการมีกิเลส
"ลักษณะของการมีกิเลส คือ มีการติด ติดในความสุข ติดในความทุกข์ ติดในที่พึงพอใจ ติดในที่ไม่พึงพอใจ ติดในสมบัติรูป ติดในสมบัตินาม ไม่สามารถละวางได้"

ความไม่เป็นกิเลส
"ความไม่เป็นกิเลส เกิดขึ้นได้โดยการปฏิบัติความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม การรู้จักให้รู้จักรับ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม การรู้คุณแทนคุณ ความตรง ความจริง ความจริงใจ วิชา ความพอเหมาะ การรู้จักวางเฉย การรู้จักออกจาก การรู้จักสละ การไม่เบียดเบียนตนเองหรือผู้อื่น ความไม่โลภ ความไม่โกรธ ความไม่หลง ทางสายกลาง"
"ความไม่เป็นกิเลส เกิดจากการไม่ปฏิบัติหรือตัดอธรรม วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส"

ความถูกความดี

ธรรมะ
ธรรมะ คือ ความถูกความดี, หลักของความถูกความดี

ความถูกความดี
"ความถูกความดี คือ ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ความถูกความดีมีคุณ คือ ทำให้ถูกต้อง มีธรรมะ เป็นกลาง เป็นธรรม เป็นประโยชน์ต่อผู้อื่นหรือตนเอง ทำให้ได้ดี มีความสุข ไม่หลงผิด ไม่ได้ไม่ดี ไม่ทุกข์"
"ควรมองให้เห็น รับรู้ สัมผัสได้ถึงความถูกความดี แล้วนำมาเป็นเป้าหมาย เป็นหนทาง เป็นที่พึ่งที่ระลึก หรือนำมาปฏิบัติ"
"ควรเพียร อดทนอดกลั้น เข้มแข็ง มีเมตตา ช่วยเหลือกัน สร้างสรรค์ หา สร้าง พัฒนา บำรุง รักษา ปรับปรุง แก้ไขด้วยความถูกความดี"
"การอธิษฐาน การคิด พูด สื่อ ทำด้วยความถูกความดี จะทำให้มีแรงใจ มีพลังใจในทางที่ถูกที่ดี"
"ตั้งหลักด้วยความถูกความดี"
"นอบน้อม อ่อนน้อมต่อความถูกความดี"
"กระทำธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความถูกความดี วิชา อย่างไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"
"การก้าวไปข้างหน้าด้วยความถูกความดีหรือแนวบวก จะต้องก้าวควบคู่ไปกับความไม่ถูกไม่ผิดความไม่ดีไม่ชั่วที่เป็นแนวกลาง และแนวลบ อย่างเป็นวิชา ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส"
"อยู่ด้วยความถูกความดี"

แนวลบที่ไม่เป็นอธรรม ใช้สำหรับการวางเฉย ปล่อยวาง หรือออกจาก ใช้ในการระบายสิ่งที่สิ้นสุดการใช้ ใช้การไม่ได้แล้ว ระบายสิ่งที่ผิดพลาด เสียหาย หรือล้มเหลว ทิ้งไป

การกระทำความถูกความดี
"กระทำความถูกความดี ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความซื่อสัตย์ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม การรู้คุณแทนคุณ ความตรง ความจริง ความจริงใจ วิชา การรู้จักวางเฉย ความไม่เบียดเบียน ความไม่เห็นแก่ตัว ความไม่ลำเอียง ความไม่อิจฉาริษยา ความไม่โลภ ความไม่โกรธ ความไม่หลง ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

ย่อ
"กระทำความถูกความดี ด้วยจิตสำนึกที่ถูกที่ดี วิชา ความไม่โลภ ไม่โกรธ ไม่หลง ไม่เห็นแก่ตัว ไม่ลำเอียง เป็นกลาง เป็นธรรม ทางสายกลาง"

ความถูก ความเป็นแนวกลาง ความผิด
"ความถูก คือ ถูกหลักธรรม ถูกหลักธรรมฝ่ายดีงาม ถูกหลักวิชา ถูกกฎของธรรมชาติ ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"
"ความเป็นแนวกลาง คือ ดีก็ไม่ใช่ไม่ดีก็ไม่ใช่ หรือความเป็นแนวกลางอื่นๆ ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"
"ความผิด คือ ผิดหลักธรรม ผิดหลักธรรมฝ่ายดีงาม หรือผิดหลักวิชา"

"ให้ความถูกเป็นแกนหลัก"
"ควรปฏิบัติความถูก ความเป็นแนวกลาง ไม่ปฏิบัติความผิด"
"ความเป็นแนวกลาง ใช้สำหรับการวางใจเป็นกลาง ออกจาก เก็บบันทึก หรือวางเฉย"

การคิด พูด ทำอย่างพอเหมาะ

"คิด พูด ทำเพื่อความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ตนเอง หรือผู้อื่น อย่างพอเหมาะ"
"คิด พูด ทำสิ่งที่ถูกที่ดีในหลายๆ ด้าน ด้วยความพอเหมาะ"

วันพุธที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2565

ให้คุณค่า ความสำคัญ

"ให้คุณค่า ความสำคัญต่อตนเอง ผู้อื่น ด้วยความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

การพัฒนา

"พัฒนา พัฒนาตนเองด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความไม่เบียดเบียน วิชา ความพอเหมาะ การรู้จักบันทึก รู้จักเก็บบันทึก การรู้จักวางเฉย การรู้จักออกจาก ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

มีค่า

"การมองคน มองที่ธรรม"
"การอยู่ ควรอยู่อย่างมีค่า คืออยู่ด้วยธรรม"
"ความมีค่าของคน มาจากธรรม"
"พัฒนาตนเองให้มีค่าด้วยธรรม"
"มีค่า ทำให้มีค่าด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ทำขันธ์ให้มีค่าด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

การกระทำ การปรับตัว

การกระทำ
"กระทำความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

การปรับตัว
"ปรับตัวด้วยการกระทำความถูกความดี วิชา อย่างไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"
ย่อ
"ปรับตัวด้วยการกระทำความถูกความดี อย่างไม่เป็นกิเลส"

สิ่งที่ควรมี

สิ่งที่ควรมี คือ
๑. ความถูก
๒. จิตสำนึกที่ถูกที่ดี
๓. ความเห็นที่ถูกที่ดี
๔. ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส
๕. แรงผลักดัน แรงบันดาลใจ อย่างเป็นธรรมะ เป็นความถูกต้องความดี ไม่เป็นกิเลสฝ่ายอธรรม
๖. ศักดิ์ศรี อย่างถูกต้อง ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส
๗. สิริ

เป้าหมาย

"ให้ความถูกต้อง ธรรมะ ความดีงาม วิชา ความไม่มีกิเลส ทางสายกลาง เป็นเป้าหมายของเรา"
"มีเป้าหมายเป็นการกระทำความถูกให้สำเร็จ"
"มีเป้าหมาย เพื่อความถูกต้องความดี ไม่จำเป็นจะต้องหวังผลตอบแทนให้ตนเอง"
"มีเป้าหมายเป็นทำให้ดีขึ้นอย่างมีขอบเขตจำกัด มีขีดจำกัด"
"ไม่ปฏิบัติอธรรม ไม่ปฏิบัติผิด ไม่ปฏิบัติไม่ดี ปฏิบัติธรรมะ ปฏิบัติถูก ปฏิบัติดี เพื่อความถูก"

ความพอเหมาะตามกาล

"รู้จักการกะ ประมาณว่าสิ่งไหนมากเกิน สิ่งไหนน้อยเกิน สิ่งไหนพอดี พอเหมาะตามกาล"
"ควรมีความพอเหมาะตามกาล มีความไม่มากเกิน ไม่น้อยเกินตามกาล อย่างเป็นวิชา ไม่เป็นกิเลส"
"รู้จักการเก็บ สะสม อย่างถูกต้องตามหลักธรรม หลักวิชา พอเหมาะ ไม่เป็นกิเลส เพื่อให้สามารถนำมาใช้ได้ในยามจำเป็น"

ไม่ผูกใจติดกัน

"การมีอคติ คิดร้าย การเบียดเบียน การคิด พูด กระทำต่อกันอย่างเป็นกิเลส จะทำให้ผูกใจติดกัน ไม่ควรผูกใจติดกัน"
"สามารถให้ ช่วยเหลือ น้อมนำ นำพากัน จริงใจต่อกัน โดยที่ไม่ผูกใจติดกันได้"

แก้ปัญหาความไม่สบายใจ

แก้ปัญหาความไม่สบายใจ
"แก้ปัญหาความไม่สบายใจ โดยการปฏิบัติความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา ความพอเหมาะ การรู้จักวางเฉย การรู้จักออกจาก ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"แก้ปัญหาความไม่สบายใจ โดยการทำใจไม่ให้ไปทุกข์กับสิ่งที่เข้ามากระทบหรือเกิดขึ้น ไม่ยึดมั่นถือมั่นกับสิ่งที่เข้ามากระทบหรือเกิดขึ้น ทั้งดีหรือไม่ดี สมหวังหรือผิดหวัง"

การแก้ปัญหา
"แก้ปัญหาด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา การรู้จักวางเฉย การรู้จักออกจาก ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"แก้ปัญหาจากเหตุ"
"ปัญหาเกิดจากกิเลสหรือการปฏิบัติอธรรม"
"แก้ปัญหาโดยการไม่ให้เสียสมบัตินามขันธ์อย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส"

การแก้ปัญหาที่ซับซ้อน
"การแก้ปัญหาที่ซับซ้อน ทำได้โดยการแก้ปัญหาอย่างเป็นเปลาะๆ ให้ความซับซ้อนลดลงเรื่อยๆ ตามลำดับ จนเหลือเป็นปัญหาเชิงเดี่ยว แล้วแก้ปัญหาเชิงเดี่ยวเหล่านั้น ก็จะแก้ปัญหาได้"
"การแก้ปัญหาที่ซับซ้อน ทำได้โดยการใช้ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

การพึ่งพา พึ่งพิง การนำทาง

การพึ่งพา พึ่งพิง
"พึ่งพา พึ่งพิงความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"พึ่งพา พึ่งพิงธรรมชาติฝ่ายที่ถูกที่ดี"

การนำทาง
"ให้ความถูกนำทางให้เรา ไปตามทางความถูก"

ถูก หมายถึง ถูกหลักธรรม ถูกหลักวิชา

การรู้คุณ แทนคุณ

"รู้คุณ แทนคุณด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"การรู้คุณ แทนคุณ เป็นสิ่งที่มีค่ามาก"
"การรู้คุณ แทนคุณ ควรทำด้วยจิตสำนึก จริงใจ ไม่หวังผลตอบแทน"
"ควรรู้คุณ ไม่ควรมองข้ามคุณของธรรมชาติ ผู้อื่น หรือสิ่งอื่น ตามจริง แล้วแทนคุณอย่างถูกต้องด้วยทางสายกลาง"
"การแทนคุณ จะกระทำได้ทั้งทางธรรม ทางรูป ทางนาม"
"การแทนคุณ ควรกระทำอย่างไม่เบียดเบียนตนเอง หรือผู้อื่น"

การหวัง

"หวัง ในความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"หวัง ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"หวังอะไรก็ได้ ที่ไม่ใช่อธรรม ไม่ใช่กิเลส"
"เมื่อหวังในทางที่ถูกที่ดีแล้ว ลงมือปฏิบัติให้สำเร็จ ด้วยความถูก จิตสำนึก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม วิชา การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

ย่อ
"หวังที่จะถูกจะดี ทำให้ถูกทำให้ดี"

หลักในการอยู่ร่วมกัน

หลักในการอยู่ร่วมกัน
"หลักในการอยู่ร่วมกัน คือ ปรารถนาดี มีวิชา ขยันหมั่นเพียร ให้ รับ แบ่งปัน ซื่อสัตย์ ตรง สามัคคี ปรองดอง เป็นกลาง เป็นธรรม รู้คุณแทนคุณ ถือความจริง จริงใจ ไม่เบียดเบียน"

ย่อ
"หลักในการอยู่ร่วมกัน คือ เป็นกลาง เป็นธรรม รู้คุณแทนคุณ"

การให้ ช่วยเหลือ รู้ตน รู้ประมาณตน

การให้ ช่วยเหลือตนเอง
"ควรเลือกให้ในเฉพาะส่วนที่ถูกที่ดีของตนเอง"
"ควรเลือกช่วยเหลือในเฉพาะส่วนที่ถูกที่ดีของตนเอง"
"ส่วนที่ไม่ถูกที่ไม่ดีของตนเอง ตนเองที่จะสามารถแก้ไข ปรับปรุงได้"

การให้ ช่วยเหลือเขา
"ควรเลือกให้ในเฉพาะส่วนที่ถูกที่ดีของเขา"
"ควรเลือกช่วยเหลือในเฉพาะส่วนที่ถูกที่ดีของเขา"
"ส่วนที่ไม่ถูกที่ไม่ดีของเขา ตัวเขาเองที่จะสามารถแก้ไข ปรับปรุงได้"

รู้ตน รู้ประมาณตน
"รู้ตน รู้ประมาณตน เพื่อให้รู้ว่าเราสามารถกระทำในทางที่ถูกที่ดีอะไรได้ ได้เท่าไร ด้วยทางสายกลาง"
"รู้ตน รู้ประมาณตน เพื่อให้เรากระทำในทางที่ถูกที่ดีได้อย่างเหมาะสม พอเหมาะ เป็นทางสายกลาง"

การมีเหตุผล

"การมีเหตุผล ทำให้เรามีความรอบรู้ มีความรอบคอบ มีความเข้าใจ มีคุณธรรม มีความเป็นกลาง เป็นธรรม ตัดสินใจ กระทำได้อย่างถูกต้อง"
"มีเหตุผล ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความตรง ความจริง วิชา การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

การได้ รับ

"การได้หรือรับ ควรมีเหตุที่ถูกที่ดี คือ มีการหา เรียง ทำ สร้างรูป นามอย่างถูกต้องด้วยธรรมะ ความเพียร วิชา มีการให้ธรรมชาติอย่างถูกต้อง หรือมีการให้ธรรม รูป นามแก่ตนเองหรือผู้อื่นอย่างถูกต้องด้วยธรรมะ ความจริงใจ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"

การกระทำอย่างไม่เป็นกิเลส

การกระทำอย่างไม่เป็นกิเลส
การกระทำอย่างไม่เป็นกิเลส คือ การกระทำอย่างไม่เป็นความโลภ ไม่เป็นความโกรธ ไม่เป็นความหลง การกระทำที่ไม่เป็นไปในทางโลภ โกรธ หลง

"ควรกระทำเป็นประโยชน์ มีค่าต่อตนเองหรือผู้อื่น อย่างถูกต้อง เป็นกลาง เป็นธรรม เป็นวิชา รู้จักการวางเฉย ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"

การให้ การรับ

"ในการอยู่ร่วมกันควรมีการให้ การรับธรรมะ สมบัติรูป สมบัตินาม สวัสดิภาพ ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม การรู้คุณแทนคุณ ความจริงใจ วิชา การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"การให้ การรับ มีทั้งทางรูป ทางนาม"
"ควรเป็นผู้ให้ เท่ากันกับ เป็นผู้รับ อย่างไม่เป็นอธรรม เป็นธรรมะ เป็นธรรมฝ่ายดี เป็นวิชา ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"
"การให้หรือแทนคุณ ควรให้หรือแทนคุณด้วยสิ่งที่มีค่า เป็นประโยชน์ต่อเขา และไม่เป็นโมฆะ"
"การรับหรือใช้ ควรรับหรือใช้ในสิ่งที่มีค่า มีประโยชน์ต่อขันธ์ ไม่เป็นโมฆะ"
"เราสามารถรับก่อนให้หรือให้ก่อนรับอย่างถูกหลักธรรม ถูกหลักวิชาได้"

วันอังคารที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2565

หลักการกระทำที่ควร

หลักการกระทำที่ควร ทำได้โดย
- เชื่อในความถูก เชื่อด้วยความถูก
- คิด พูด สื่อ กระทำในทางที่ถูกที่ดีอย่างไม่เป็นกิเลส คือ ไม่โลภ ไม่โกรธ ไม่หลง หรือไม่เป็นไปในทางโลภ โกรธ หลง ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม วิชา ทางสายกลาง
- ทำเพื่อความถูก

การรู้จักปรับตัว รู้ตน มีความรับผิดชอบ

การรู้จักปรับตัว
"รู้จักปรับตัว ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม จิตสำนึกที่ถูกที่ดี ความมีเหตุผล รู้ตน รู้ผู้อื่น รู้ประมาณ รู้กาล รู้จักแก้ไข รู้จักปรับปรุง รู้ปัญหา รู้จักแก้ปัญหา ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความตรง ความจริง ความเหมาะสม ความพอเหมาะ วิชา ความรู้ การรู้จักวางเฉย การรู้จักออกจาก ความไม่เบียดเบียน ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

รู้ตน
"รู้ตน คือรู้ว่าตนเองทำอะไรลงไป ทำอย่างไร มีเจตนาอย่างไร มีเหตุจากอะไร ตามจริง ถ้าผิด ก็แก้ไข ปรับปรุงตนให้ถูกต้อง ด้วยความถูก จิตสำนึก ธรรมะ วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

มีความรับผิดชอบ
"มีความรับผิดชอบในความผิดพลาดของตนเอง ด้วยความถูก จิตสำนึก ธรรมะ วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

ยอมรับความจริง

"ควรยอมรับความจริงว่า เราทำผิดอะไร ผิดพลาดอะไร เป็นผู้รับอะไร เป็นหนี้อะไรตามจริง แล้วแก้ไข ใช้หนี้ อย่างถูกต้อง ด้วยธรรมะ วิชา"
"หนี้มีต่อทั้งธรรมชาติ ต่อผู้อื่น หรือต่อสิ่งอื่น การใช้หนี้จะกระทำได้ทั้งทางธรรมะ ทางวิชา ทางรูป ทางนาม"
"เราไม่ควรมองเข้าข้างตนเองว่าตนเองทำถูกเสมอ ไม่ผิดพลาดเลย เป็นผู้ให้เสมอ ไม่เป็นผู้รับ หรือมองข้ามการรับของตนเอง"

สิ่งที่ไม่ถูกไม่ดี

สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่ไม่ควรปฏิบัติ อย่างเป็นทางสายกลาง และไม่ควรเป็นเจ้าของ

สิ่งที่ไม่ถูกไม่ดี ๔ ข้อ คือ
- อธรรม ความไม่ถูก ความไม่ดี ความไม่ใช่ทางสายกลาง
- ธรรมฝ่ายชั่วร้าย ความชั่วร้าย
- ความไม่มีวิชา วิชาที่ไม่ถูกไม่ดี
- กิเลส มีความสุข แก้ปัญหาด้วยความผิด

สิ่งที่ไม่ถูกไม่ดี ๒๕ ข้อ คือ
- ความไม่ถูก ความไม่ดี ขาดศีล ขาดสติ ขาดสัมปชัญญะ ขาดสมาธิ ขาดวิชา ความไม่ใช่ทางสายกลาง ความหย่อนเกินหรือตึงเกิน
- ความไม่มีวิชา ทักษะที่ไม่ถูกไม่ดี วิชาที่ไม่ถูกไม่ดี
- จิตสำนึกที่ไม่ถูกที่ไม่ดี ความเห็นที่ไม่ถูกที่ไม่ดี เจตนาที่ไม่ถูกที่ไม่ดี ความหลงผิด การสะสมอธรรมหรือกิเลส
- คิดไม่ถูกคิดไม่ดี คิดร้าย ตั้งจิตปรารถนาในทางที่ไม่ถูกที่ไม่ดี ความปรารถนาไม่ถูกไม่ดี ความอยากอย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส การปรารถนา หา มี ติด ยึดติด หรือยึดมั่นถือมั่นในชื่อเสียง หน้าตา อย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส
- เจรจาไม่ถูกไม่ดี
- ความประพฤติไม่ถูกไม่ดี การปฏิบัติไม่ถูกไม่ดี การสร้าง มีบารมีที่ไม่ถูกไม่ดี ทุจริต
- ความเบียดเบียน
- ความพยายามที่ไม่ถูกที่ไม่ดี ความไม่เพียรพยายามในทางที่ถูกที่ดี ความมุ่งมั่นที่ไม่ถูกที่ไม่ดี ไม่มุ่งมั่นในความถูกความดี มักง่าย ไม่รับผิดชอบ ขอไปทีอย่างเป็นอธรรม ความประมาท ไม่รอบคอบ
- ความตั้งมั่นที่ไม่ถูกที่ไม่ดี ไม่มีความตั้งมั่นที่ถูกที่ดี ตั้งจิตไว้ที่ไม่ถูกที่ไม่ดี
- การเรียงความสำคัญไม่ถูก ไม่ถูกอันดับ ไม่ถูกลำดับ การเรียงไม่ถูก ไม่ถูกเนื้อนาม ไม่ถูกลำดับ ไม่เป็นระเบียบ การซ้ำแบบผิด ผิดหลักวิชา
- อ่อนแอ ไม่อดทนในความถูกความดีหรือในการกระทำความถูกความดี
- ความไม่เหมาะสม ไม่พอเหมาะ ไม่พอดี ไม่มีจังหวะที่ถูก ไม่รู้จักผ่อนหนักผ่อนเบา ไม่รู้จักพอ ความมากเกิน หรือน้อยเกิน เกินขอบเขตจำกัด เกินขีดจำกัด การไม่รู้จักเก็บอย่างพอเหมาะ การฟุ้งเฟ้อ สิ้นเปลือง ไม่ทันเวลาที่จำกัด มีความไม่สมดุล
- การไม่รู้จักปรับตัวอย่างถูกต้อง
- ความไม่สม่ำเสมอ ไม่เสมอต้นเสมอปลายอย่างถูกต้อง
- การแย่ง แย่งสมบัตินามขันธ์ อย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส การเสียสมบัตินามขันธ์อย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส การเอาของเขา การใช้ในส่วนของเขา แข่ง เปรียบเทียบอย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส ความตระหนี่ ความเห็นแก่ตัว ความอิจฉาริษยา การทำให้เข้าใจคลาดเคลื่อน ทำให้เข้าใจผิด การใส่ร้าย การกดขี่ข่มเหง การรังแก การทำให้คลาดเคลื่อน การทำให้ผิดพลาด การทำให้ผิด การบังคับอย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส การเจาะระบบอย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส การถูกเจาะระบบอย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส การรับสิ่งตอบแทนจากการปฏิบัติอธรรมหรือกิเลส การพนัน อบาย
- การไม่รู้จักออกจาก ความติด
- การไม่รู้จักบันทึก ไม่รู้จักเก็บบันทึก
- การไม่รู้จักวางเฉย ไม่รู้จักปล่อยวาง ละวาง
- ความไม่เป็นกลาง ลำเอียง
- ความไม่เป็นธรรม เอาเปรียบ
- การไม่รู้คุณไม่แทนคุณ
- ความคด มีเล่ห์เหลี่ยม โกง ทรยศ หักหลัง ลักไก่
- ความไม่จริง ไม่จริงใจ
- ความไม่มีอิสระ ไม่เป็นอิสระอย่างถูกต้อง ความอิสระที่ไม่ถูกไม่ดี
- กิเลส ความโลภ ความโลภมี ความโกรธ ความหลง ความมัวเมา มีความสุข แก้ปัญหาด้วยความผิด

บทความที่ได้รับความนิยม