วันพุธที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2567

วันอาทิตย์ที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2567

แก้ปัญหาความเครียด ความทุกข์

"ทำให้ไม่เครียด ไม่ทุกข์ ทำให้ความเครียด ความทุกข์ลดลงหรือหมดไป โดยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา การรู้จักวางเฉย การรู้จักออกจาก ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันเสาร์ที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2567

คิด เขียน

"ควรคิด เขียนธรรมะ ธรรมะหลัก ธรรมฝ่ายดีงาม อธรรม กิเลส ให้ถูกต้อง แล้วปฏิบัติให้ถูกต้อง"

วันอังคารที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2567

ทำถูกกฎ เหตุของความทุกข์ ความสุข การทำให้หมด

ทำถูกกฎ
"ควรทำถูกกฎของธรรมชาติ ถูกกฎของธรรมะ กฎของความถูกความดี ถูกกฎของการกระทำ ถูกกฎของวิชา ถูกกฎที่ถูกที่ดี
การทำถูกกฎเหล่านี้ จะทำให้อยู่ในระบบ มีความสงบสุข มีความสุข ไม่ทุกข์ ได้"
"ควรทำถูกกฎที่ถูกต้องที่ดีทุกกฎ แล้วทำให้เป็นธรรมต่อตนเองหรือผู้อื่น"
ย่อ
"การทำถูกกฎของธรรมะ จะทำให้อยู่ในระบบ มีความสงบสุข มีความสุข ไม่ทุกข์ ได้"

เหตุของความทุกข์ ความสุข
เหตุของความทุกข์ คือการกระทำอธรรม ความไม่มีวิชา หรือกิเลส
เหตุของความสุข คือการกระทำธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความถูกความดี วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง

การทำให้หมด
"ควรทำให้อธรรมหมดไปก่อน เหลือแต่ธรรมะ ความไม่เป็นอธรรม
ควรทำให้กิเลสหมดไปก่อน เหลือแต่ความไม่เป็นกิเลส
ควรทำให้ความผิดหมดไปก่อน เหลือแต่ความถูก"

วันอาทิตย์ที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2567

เหตุ ผลของความสุข ชนิดของความสุข สร้างเหตุที่ถูกที่ดี

เหตุ ผลของความสุข
"การกระทำธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความถูกความดี วิชา อย่างไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง จะเป็นเหตุของความสุข และมีผลเป็นความสุขทางพื้นฐาน รูป(รูปธรรม) อรูป ธรรม"
"ไม่ควรมีความสุขทางพื้นฐาน รูป(รูปธรรม) อรูป ธรรม โดยที่ไม่ได้ทำเหตุจากการกระทำความถูกความดี"
"หากเราไปรับความสุขทางพื้นฐาน รูป(รูปธรรม) อรูป ธรรม โดยที่ไม่ได้ทำเหตุจากการกระทำความถูกความดี จะทำให้เราเสีย ไปทำอธรรม ไปทำผิดทำชั่ว ไปเบียดเบียนผู้อื่นหรือตนเอง ในภายหลัง"
"สามารถมีความสุขทางพื้นฐาน รูป(รูปธรรม) อรูป ธรรม อย่างไม่เป็นอธรรมได้"
"สามารถมีความสุขทางพื้นฐาน รูป(รูปธรรม) อรูป ธรรม อย่างไม่เป็นกิเลสได้"

ชนิดของความสุข
ชนิดของความสุข แบ่งเป็น ความสุขในแนวกลางหรือแนวศูนย์ คือความสงบสุข และความสุขในแนวบวก คือความสุขปกติ

สร้างเหตุที่ถูกที่ดี
"สร้างเหตุเป็นการกระทำความถูกความดี จะทำให้มีผลเป็นมีความสงบสุข มีความสุข ได้ดี อยู่ดี มีธรรมะ มีธรรมฝ่ายดีงาม เป็นกลาง เป็นธรรม เป็นวิชา ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"
ย่อ
"สร้างเหตุเป็นการกระทำความถูกความดี จะทำให้มีผลเป็นมีความสงบสุข มีความสุข ได้ดี อยู่ดี"

วันพฤหัสบดีที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2567

อยู่ข้างใน อยู่ใกล้ อยู่ไกล สิ่งที่ไม่ใช่ของสูง สิ่งที่เป็นของสูง

อยู่ข้างใน อยู่ใกล้ อยู่ไกล
"ควรอยู่ข้างในธรรมะ ความถูกความดี อยู่ใกล้ธรรมะ ความถูกความดี อยู่ไกลจากอธรรม อยู่ไกลจากกิเลส
ไม่ควรอยู่ไกลธรรมะ ความถูกความดี อยู่ใกล้อธรรม อยู่ใกล้กิเลส"

สิ่งที่ไม่ใช่ของสูง สิ่งที่เป็นของสูง
"อธรรม ความไม่มีวิชา กิเลส ไม่ใช่ของสูง ไม่ใช่ของอย่างดี"
"ธรรมะที่ยังไม่สมบูรณ์ ยังไม่ใช่ของสูง ยังไม่ใช่ของอย่างดี"
"ธรรมะที่สมบูรณ์ เป็นของสูง เป็นของอย่างดี"

วันพุธที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2567

พื้นฐาน รูป อรูป ธรรม บังคับตนเอง

พื้นฐาน รูป อรูป ธรรม
"ไม่ควรใช้ ควรตัดพื้นฐาน รูป(รูปธรรม) อรูป ธรรม ที่เป็นอธรรม"
"ไม่ควรใช้ ควรตัดพื้นฐาน รูป(รูปธรรม) อรูป ธรรม ที่เป็นกิเลส"
"ใช้พื้นฐาน รูป(รูปธรรม) อรูป ธรรม อย่างไม่เป็นอธรรม"
"ใช้พื้นฐาน รูป(รูปธรรม) อรูป ธรรม อย่างไม่เป็นกิเลส"
"สามารถมีความสุขทางพื้นฐาน รูป(รูปธรรม) อรูป ธรรม อย่างเป็นธรรมะ เป็นธรรมฝ่ายดีงาม เป็นความถูกความดี เป็นวิชา ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง ได้"

บังคับตนเอง
"ควรบังคับ ยับยั้งตนเองได้ อย่างถูกต้อง ถูกคลองธรรม มีสติ มีเหตุผล"

วันอังคารที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2567

สิ่งที่ทำเป็นการดี ความสุข

สิ่งที่ทำเป็นการดี
"สิ่งที่ทำเป็นการดี คือการตัดอธรรม ตัดกิเลส ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลสก่อน แล้วปฏิบัติธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความถูกความดี วิชา"

"จะเป็นการดีกว่าหรือไม่ ถ้าตัดอธรรม ตัดกิเลส ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลสก่อน แล้วปฏิบัติธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความถูกความดี วิชา"

ความสุข
"การไม่ทำอธรรมเลย การทำธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงามจะทำให้มีความสุขมาก"

รู้อธรรม รู้กิเลส รู้ธรรมะ

รู้อธรรม รู้กิเลส
"ไม่ควรปฏิบัติอธรรม เพื่อให้รู้อธรรม ควรรู้อธรรมโดยที่ไม่ต้องปฏิบัติอธรรมเลย
สามารถรู้ รับมืออธรรมได้โดยการปฏิบัติธรรมะ ธรรมฝ่ายดี ความถูกต้องความดี วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"สามารถรู้ รับมือกิเลสได้โดยการปฏิบัติธรรมะ ธรรมฝ่ายดี ความถูกต้องความดี วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

รู้ธรรมะ
"รู้ธรรมะได้โดยการปฏิบัติธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความถูกต้องความดี ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันจันทร์ที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2567

สาเหตุของปัญหา เจตนา ตั้งใจ

สาเหตุของปัญหา
"สาเหตุของปัญหา เกิดจากการปฏิบัติอธรรม ไม่ปฏิบัติธรรมะ ไม่ปฏิบัติธรรมฝ่ายดี ไม่มีวิชา ปฏิบัติกิเลส หรือปฏิบัติไม่เป็นทางสายกลาง หย่อนเกิน ตึงเกิน"

เจตนา ตั้งใจ
"ควรมีเจตนา ตั้งใจกระทำธรรมะ ธรรมฝ่ายดี ความถูกความดี วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง
ไม่ควรมีเจตนา ตั้งใจ หรือจงใจกระทำอธรรม ธรรมฝ่ายไม่ดี ความผิดความไม่ดี ความไม่ใช่วิชา กิเลส ความไม่ใช่ทางสายกลาง เลย"

สนทนาธรรม

"ควรสนทนาธรรมอย่างเหมาะสมตามกาล เพื่อสร้างสรรค์"

ไม่ควรใช้อธรรม

"การใช้อธรรมในการทำให้ไม่ทุกข์ ไม่ทรมาน มีความสุข มีใช้ อยู่ได้ จะเป็นแบบผิด เป็นสิ่งที่ไม่ควรทำ"
"ไม่ควรใช้อธรรมในการทำให้มี ได้ อยู่ได้ มีความสุข ไม่ทุกข์ ไม่ได้รับผลของการทำผิดทำไม่ดี หรือไม่ได้รับผลของกิเลส"
"ไม่ควรปฏิบัติอธรรม เพื่อให้รู้อธรรม ควรรู้อธรรมโดยที่ไม่ต้องปฏิบัติอธรรมเลย
สามารถรู้อธรรมได้โดยการปฏิบัติธรรมะ ธรรมฝ่ายดี ความถูกต้องความดี วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ควรมี ได้ อยู่ได้ มีความสุข ไม่ทุกข์ แก้ปัญหาด้วยธรรมะ ความถูกต้องความดี วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

อยู่ง่าย

"ควรอยู่ง่าย ไม่ควรอยู่ยากจนเกินไป"
"การอยู่ง่าย ทำได้โดยการใช้ธรรมะ วิชา ความสมดุลทำให้อยู่ง่ายขึ้น"
"การอยู่ง่าย สามารถทำให้กระทำความถูกความดีได้ง่าย"
"การอยู่ง่ายจะทำให้มีความสุข ไม่ทุกข์ได้"
"การอยู่ง่าย ทำให้แก้ปัญหาได้ง่าย"

สมดุลการบังคับ

"ในด้านรูป ควรบังคับขันธ์ของตนเอง อย่างถูกต้องครึ่งหนึ่ง มีอิสระไม่บังคับ อย่างถูกต้องอีกครึ่งหนึ่ง"
"ในด้านนาม ควรบังคับขันธ์ของตนเอง อย่างถูกต้องครึ่งหนึ่ง มีอิสระไม่บังคับ อย่างถูกต้องอีกครึ่งหนึ่ง"
"ธรรมะ เป็นสิ่งที่ใช้ในการควบคุมบังคับในด้านรูปหรือด้านนาม"
"ไม่ว่าจะอยู่ที่ใดก็ตาม ควรปรับตัวให้มีการบังคับขันธ์ของตนเอง อย่างถูกต้อง เท่ากับการมีอิสระไม่บังคับ อย่างถูกต้อง"
สรุป
"ควรบังคับขันธ์ของตนเอง อย่างถูกต้องครึ่งหนึ่ง มีอิสระไม่บังคับ อย่างถูกต้องอีกครึ่งหนึ่ง"

ประเภทของความสุข แก้ปัญหาการคิด ปฏิบัติธรรมะ ความถูกความดีแล้วทุกข์

ประเภทของความสุข
ประเภทของความสุข คือ
- ความสุขจากความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม การรู้คุณแทนคุณ ทางสายกลาง
- ความสุขจากการคิดถูกคิดดี หรือคิดบวก
- ความสุขจากการปฏิบัติถูกปฏิบัติดี หรือปฏิบัติบวก
- ความสุขจากวิชา
- ความสุขจากความสงบ ไม่เบียดเบียน ไม่ถูกเบียดเบียน ความไม่ยึดติด ไม่ยึดมั่นถือมั่น สมาธิ ความไม่เป็นกิเลส

มีความสุขจากธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความถูกความดีแล้ว ควรมีความสงบ ความเป็นกลาง ความไม่เป็นกิเลสกระทำควบคู่ไปด้วย

แก้ปัญหาการคิด ปฏิบัติธรรมะ ความถูกความดีแล้วทุกข์
แก้ปัญหาการคิด ปฏิบัติธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความถูกความดีแล้วทุกข์ ได้โดยการคิด ปฏิบัติควบคู่ไปกับการปฏิบัติวิชา ความสงบ ความเป็นกลาง ความไม่เป็นกิเลส จะทำให้ไม่ทุกข์ได้

การรู้จักวางเฉย รู้จักหยุด รู้จักยับยั้ง รู้จักพัก รู้จักออกจาก

"รู้จักวางเฉย รู้จักหยุด รู้จักยับยั้ง รู้จักพัก รู้จักออกจากอย่างเป็นความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

จิตใจที่งดงาม

"มีจิตใจที่งดงามด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความตรง ความจริงใจ วิชา การรู้จักวางเฉย การรู้จักออกจาก ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

การอยู่

"การอยู่ คือการทำความถูกความดี การแก้ปัญหา"
"การอยู่ที่ควร คือการทำความถูกความดี การแก้ปัญหาด้วยธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
ย่อ
"การอยู่ที่ควร คือการทำความถูกความดี การแก้ปัญหาด้วยธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม วิชา"

คาดหวัง มุ่งมั่น

คาดหวัง มุ่งมั่น
"คาดหวัง มุ่งมั่นอย่างเป็นความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา การรู้จักวางเฉย การรู้จักออกจาก ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ไม่ควรคาดหวัง มุ่งมั่นอย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส"
"ไม่ควรคาดหวัง มุ่งมั่นจนเกินไป"

คาดหวัง มุ่งมั่นในสมบัติรูป สมบัตินาม
"ไม่ควรคาดหวัง มุ่งมั่นในสมบัติรูป สมบัตินามอย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส"
"ไม่ควรคาดหวัง มุ่งมั่นในสมบัติรูป สมบัตินามจนเกินไป"

คาดหวัง มุ่งมั่นในเกียรติ
"ไม่ควรคาดหวัง มุ่งมั่นในเกียรติอย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส"
"ไม่ควรคาดหวัง มุ่งมั่นในเกียรติจนเกินไป"

คิดธรรมะ จุดประสงค์ของธรรมะ

คิดธรรมะ
"คิดธรรมะ เพื่อความถูกความดี"
"คิดธรรมะขึ้นมาเพื่อใช้ในการปฏิบัติความถูกความดี"
"คิดธรรมะ จากปัญหา"
"คิดธรรมะขึ้นมาเพื่อใช้ในการแก้ปัญหา"

จุดประสงค์ของธรรมะ
จุดประสงค์ของธรรมะ คือเพื่อความถูกต้อง เพื่อความดี เพื่อให้ถูกต้อง เพื่อให้ดี เพื่อแก้ปัญหา

เอาชนะใจตนเอง

"เอาชนะใจตนเอง เข้าหาและปฏิบัติความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"เอาชนะใจตนเอง ไม่ปรารถนาในอธรรม วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส"
"เอาชนะใจตนเอง ไม่ปฏิบัติในอธรรม วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส"

ขยัน

"เอาชนะใจตนเอง ขยันทำงานตามหน้าที่อย่างเหมาะสม ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

มีธรรมะให้เพียงพอ

"ควรมีธรรมะให้เพียงพอ แล้วปฏิบัติให้ถูกต้อง ให้ดี"

มีความสุข สงบ

"มีความสุข ไม่ทุกข์ ไม่เดือดร้อน อย่างไม่เป็นอธรรม ไม่เบียดเบียน ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"มีความสงบ ไม่ทุกข์ ไม่เดือดร้อน อย่างไม่เป็นอธรรม ไม่เบียดเบียน ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"

สภาพที่พอเหมาะกับขันธ์

"สภาพที่พอเหมาะกับขันธ์ คือสภาพที่ไม่มากไป ไม่น้อยไป ตามกาลนั้นๆ ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"
"เมื่อมีสภาพที่พอเหมาะกับขันธ์ ควรอยู่ได้อย่างเป็นปกติ ไม่ทุกข์ ไม่เดือดร้อน"
"ควรอยู่ในสภาพที่พอเหมาะกับขันธ์ และอยู่ได้อย่างเป็นปกติ"
"อยู่ได้อย่างเป็นปกติ คืออยู่อย่างแก้ปัญหาได้ทันเวลา"

ไม่ลอดช่องโหว่

"ไม่ควรลอดช่องโหว่แล้วทำผิดทำไม่ดี"

นำกลับมาใช้ใหม่

"ควรนำกลับมาใช้ใหม่ อย่างสมบูรณ์ เหมาะสม"
หมายถึงควรนำสมบัติรูป สมบัตินามที่เคยถูกใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ อย่างสมบูรณ์ เหมาะสม ด้วยความถูก ธรรมะ วิชา การปฏิบัติถูกกฎของธรรมชาติ ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง

"การนำกลับมาใช้ใหม่ อย่างสมบูรณ์ เหมาะสม จะทำให้แก้ปัญหาได้ ทำให้มีความสุขได้ ทำให้ไม่ทุกข์ หรือทุกข์น้อยได้ ทำให้ไม่เบียดเบียนได้"
"การนำกลับมาใช้ใหม่ อย่างสมบูรณ์ เหมาะสม เป็นสิ่งที่ทำให้เกิดธรรมะขึ้นมาได้"
"การนำกลับมาใช้ใหม่ อย่างไม่สมบูรณ์ หรือไม่เหมาะสม จะทำให้เกิดปัญหา ทำให้เป็นทุกข์ได้ ทำให้เกิดการเบียดเบียน"
"การนำกลับมาใช้ใหม่ อย่างไม่สมบูรณ์ หรือไม่เหมาะสม เป็นสิ่งที่ทำให้เกิดอธรรมขึ้นมา"
"การทำงานคือการนำกลับมาใช้ใหม่ อย่างสมบูรณ์ เหมาะสม"

สะท้อน

"เมื่อผลของเราตกไปที่ผิดที่ไม่ดี ควรให้สะท้อนไปเรื่อยๆ เพื่อให้ตกไปในที่ถูกที่ดี ด้วยวิชา แล้วสะท้อนมายังเราและรับมาเก็บ ใช้ หรือชดใช้ ไม่ควรให้ผลของเราสูญเสียหรือซึมซับไประหว่างทางการสะท้อนเลยแม้แต่น้อย"
"เมื่อผลกรรมของผู้อื่นมาตกที่เรา ไม่ว่าจะเป็นที่ถูกที่ดีหรือเป็นที่ผิดที่ไม่ดีก็ตาม เราควรสะท้อนกลับไปยังเจ้าของกรรมนั้นๆ ด้วยวิชา ไม่ควรซึมซับแบบผิดหรือเก็บแบบผิดเอาไว้เองเลยแม้แต่น้อย"
"การสะท้อนกลับไปยังเจ้าของกรรม บางทีอาจจะต้องสะท้อนผ่านไปยังหลายคนก่อนจะถึงเจ้าของกรรม อย่างถูกต้องด้วยวิชาและทางสายกลาง"

การกระทำที่ควร หลักธรรม จิตสำนึก

การกระทำที่ควร
"จริงใจด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"มีจิตสำนึกด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"มีความปรารถนาดีด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"คิดด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"มีเหตุผล วิเคราะห์ รู้ด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"ตัดสินใจ เลือกด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"พึ่งพาด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"เพียร พยายามด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"หา เรียง ทำ สร้างด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"กระทำ ปฏิบัติด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"พูด สื่อด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"รอบคอบ ไม่ประมาทด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"สร้างสรรค์ด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"แก้ปัญหาด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"ไม่เบียดเบียนด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"ให้ด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"รับด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"ใช้ด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"เก็บ รักษาด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"บันทึกด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"ตั้งมั่น อดทน เข้มแข็งด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"น้อมนำ นำพาด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"เอื้อเฟื้อ ช่วยเหลือด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"สนับสนุนด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"ประคับประคองด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"เป็นอิสระด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"

การกระทำที่ควรหรือการแก้ปัญหาตรงเหตุ
เหตุของปัญหาเกิดจาก
- เชื่อในความผิด เชื่อด้วยความผิด
- คิด พูด สื่อ กระทำอย่างเป็นกิเลส คือ โลภ โกรธ หลง
- ทำด้วยความผิด

การกระทำที่ควรหรือการแก้ปัญหาตรงเหตุ ทำได้โดย
- เชื่อในความถูก เชื่อด้วยความถูก
- คิด พูด สื่อ กระทำในทางที่ถูกที่ดีอย่างไม่เป็นกิเลส คือ ไม่โลภ ไม่โกรธ ไม่หลง หรือไม่เป็นไปในทางโลภ โกรธ หลง ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม วิชา ทางสายกลาง
- ทำเพื่อความถูก

หลักธรรม ๔ ข้อ
หลักธรรม ๔ ข้อ คือ
- ไม่ทำผิดไม่ทำชั่ว
- ทำถูกทำดี
- ทำจิตใจให้สะอาด บริสุทธิ์ ผ่องใส เป็นอิสระอย่างถูกต้อง
- แก้ปัญหาอย่างถูกต้องด้วยความถูกความดี

จิตสำนึก
"มีจิตสำนึก มีความเพียร พยายาม รอบคอบ สร้างสรรค์ แก้ปัญหา เป็นอิสระด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา ความไม่เบียดเบียน การรู้จักวางเฉย ปล่อยวาง การรู้จักออกจาก ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"จิตสำนึกเป็นสิ่งสำคัญ ทำให้เกิดความถูก ธรรมะ ความสงบสุข ไม่เบียดเบียน เป็นกลาง เป็นธรรม สร้างสรรค์"
"คิด พูด สื่อ กระทำด้วยความมีจิตสำนึก"

การทำถูกทำดี

"การทำถูกทำดี คือ การทำธรรมะกัน การรู้ด้วยธรรมะกัน การบอกธรรมะกัน การทำงานด้วยธรรมะกัน การให้และรับด้วยธรรมะกัน การจริงใจต่อกัน การไม่ทำผิดไม่ทำไม่ดีกัน การไม่เบียดเบียนกัน"
"การทำถูกทำดี คือ การแก้ปัญหาด้วยธรรมะหรือความถูกความดีกัน"

"เก็บ สะสมธรรมะ ความถูกความดี ความไม่เป็นกิเลส ไม่สะสมอธรรม ความผิดความไม่ดี หรือกิเลส"

การตัดอธรรม ตัดกิเลส ฝึกสมาธิ

การตัดอธรรม ตัดกิเลส
"จะต้องหยุดพักการใช้งานสมบัติรูป สมบัตินามที่ใช้ในปัจจุบันก่อนชั่วคราว และเก็บสมบัติรูป สมบัตินามที่สะสมไว้อย่างมิดชิด ถึงจะทำการตัดอธรรม ตัดกิเลสได้"
"สามารถทำให้ไม่มีอธรรม ไม่มีกิเลสที่เก็บสะสมเอาไว้อยู่เลย แล้วทำการตัดอธรรม ตัดกิเลส"
"เมื่อตัดอธรรม ตัดกิเลสไปแล้ว สามารถปฏิบัติความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง ได้"
"ไม่ควรสะสมอธรรม กิเลส"

ฝึกสมาธิ
"จะต้องหยุดพักการใช้งานสมบัติรูป สมบัตินามที่ใช้ในปัจจุบันก่อนชั่วคราว และเก็บสมบัติรูป สมบัตินามที่สะสมไว้อย่างมิดชิด ถึงจะทำการฝึกสมาธิ จดจ่อกับฐานสมาธิได้"

การให้ธรรมะ การลงเอยด้วยธรรมะ

การให้ธรรมะ
"ธรรมะ เป็นสิ่งที่ดีต่อจิตใจ"
"การให้ธรรมะตนเองหรือผู้อื่น เป็นสิ่งที่ดีต่อจิตใจ ทำให้เกิดความถูกต้อง เกิดปัญญา ปฏิบัติถูกปฏิบัติดี มีความสุข สบายใจ ไม่ทุกข์ใจ ไม่หลงผิด ไม่ปฏิบัติผิด"

การลงเอยด้วยธรรมะ
"การทำอธรรม ไม่สามารถจบด้วยธรรมะได้"
"การไม่ทำอธรรม การทำถูกทำดี จะจบด้วยธรรมะได้"

ฟุ้งซ่าน กระสับกระส่าย

"การขาดสมาธิ มีอธรรม มีกิเลส ทำให้ฟุ้งซ่าน กระสับกระส่าย
การมีสมาธิ ไม่ปฏิบัติ ตัดอธรรม กิเลส อย่างถูกต้อง จะทำให้ไม่ฟุ้งซ่าน ไม่กระสับกระส่าย ได้"

อยู่ในระบบ ให้ความสำคัญจิตใจ ขันธ์

อยู่ในระบบ
"ควรอยู่ในระบบ"
"ควรทำให้อยู่ในระบบ"
"อยู่ในระบบ คือเป็นความถูก มีธรรมะ เป็นกลาง เป็นธรรม มีกฎแห่งกรรม เป็นวิชา เป็นอิสระอย่างถูกต้อง"
"อยู่ในระบบ จะอยู่กับความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

ให้ความสำคัญจิตใจ ขันธ์
"ให้ความสำคัญต่อจิตใจ ขันธ์ ให้มากกว่าสมบัติรูป สมบัตินาม"

ธรรมประจำใจและเป็นเป้าหมาย
ธรรมประจำใจและเป็นเป้าหมาย ๒ ข้อ คือ
- ไม่เป็นอธรรม ไม่มีอธรรม
- ไม่เป็นกิเลส ไม่มีกิเลส

อธรรม กิเลสที่แฝงซ่อนอยู่

"ทำให้อธรรม กิเลสที่แฝงซ่อนอยู่หมดไป ด้วยความถูก ธรรมะ วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

เป้าหมายในการอยู่

"ในการอยู่ มีเป้าหมายเป็นการมี อยู่ได้อย่างถูกต้อง ดีงาม มีความสุข สงบสุข เรียบร้อย เป็นวิชา ไม่เบียดเบียน ไม่เป็นกิเลส"
ย่อ
"ในการอยู่ มีเป้าหมายเป็นการมี อยู่ได้อย่างถูกต้อง สงบสุข เรียบร้อย ไม่เป็นกิเลส"

อารี

"มีความอารี ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความจริงใจ วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

ความเห็นถูก

"ความเห็นถูก คือความเห็นว่า การทำถูกทำดี ไม่เบียดเบียน จะทำให้มี อยู่ได้อย่างถูกต้อง สงบสุข เรียบร้อย"

ความเห็นผิด

"ไม่ควรมีความเห็นผิดว่า มี อยู่ได้อยู่ หรือไม่มี อยู่ไม่ได้ จึงไปทำผิดทำไม่ดี เบียดเบียน ควรคิดอย่างกลางๆ จะทำให้ไม่ไปทำผิดทำไม่ดี ไม่เบียดเบียน"
"ไม่ควรมีความเห็นผิดว่า ทำผิดทำไม่ดี เบียดเบียน แล้วจะยังมี อยู่ได้อยู่"

ความถูกความดี

"อยู่ด้วยความถูกความดี"
"เสริมสร้างกำลังใจด้วยความถูกความดี"
"พึ่งพาความถูกความดี"
"คิด พูด สื่อ ปฏิบัติความถูกความดี ความตรง ความไม่เป็นกิเลส"
"แก้ปัญหาโดยการปฏิบัติความถูกความดี"
"ให้ด้วยความถูกความดี"
"รับด้วยความถูกความดี"
"มีความมุ่งมั่น ตั้งมั่นในความถูกความดี ทางสายกลาง"
"มีความเพียร พยายามด้วยความถูกความดี ทางสายกลาง"
"เข้มแข็ง อดทนด้วยความถูกความดี"
"มีความสม่ำเสมอในความถูกความดี"
"มีอิสระด้วยความถูกความดี"
"มีเป้าหมายเป็นความถูกความดี"

ความรัก

"สามารถใช้ความปรารถนาดี อย่างถูกต้อง เป็นกลาง เป็นธรรม จริงใจ เป็นวิชา ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง แทนความรัก"
"สามารถให้ธรรมะ วิชา ให้อย่างเป็นธรรมะ เป็นธรรมฝ่ายดี เป็นวิชา แทนการให้ความรัก"

จุดประสงค์ อยู่ในแนวบวก

จุดประสงค์
"ปฏิบัติเพื่อไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส
เพื่อเป็นธรรมะ เป็นธรรมฝ่ายดีงาม เป็นความถูกความดี"

อยู่ในแนวบวก
"ควรให้ขันธ์อยู่ในแนวบวกที่กาลปัจจุบัน"

ไม่สร้างหรือมีบารมีที่ผิดที่ไม่ดี

"ไม่สร้างหรือมีบารมีที่ผิดที่ไม่ดี หากมีอยู่ ควรทำลายบารมีที่ผิดที่ไม่ดีให้หมดไปด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ไม่มีบารมีที่ผิดที่ไม่ดี แล้วสร้างบารมีที่ถูกที่ดี"
"บารมีที่ถูกที่ดี คือธรรมะหลัก ธรรมฝ่ายดีงาม"

แก้ปัญหาที่ตนเอง

"ไม่มุ่งการแก้ปัญหาที่ผู้อื่นด้วยการบังคับ แล้วแก้ปัญหาที่ตนเองด้วยการอุดช่องโหว่ของตนเองไปเรื่อยๆ"
"ทุกคนควรแก้ปัญหาที่ตนเองกัน ด้วยการอุดช่องโหว่ของตนเอง"
"การแก้ปัญหาที่ตนเองด้วยการอุดช่องโหว่ของตนเองไปเรื่อยๆ จะทำให้เกิดธรรมะ เกิดวิชา และทำให้แก้ปัญหาได้"

ตัวตน

"การไม่ยึดถือตัวตนอย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส จะทำให้ไม่ทุกข์ใจ"
"ควรไม่ยึดถือตัวตนอย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส"

ถูกคลองธรรม มีศีลธรรม ถูกหลักศีลธรรม

"การปฏิบัติอย่างถูกคลองธรรม มีศีลธรรม ถูกหลักศีลธรรม จะทำให้เจริญ ก้าวหน้า ได้ดี มีความสุข มีความสงบสุข เรียบร้อย ไม่ทุกข์จากการเบียดเบียน"
"ควรคิด พูด สื่อ กระทำ ปฏิบัติอย่างถูกคลองธรรม มีศีลธรรม ถูกหลักศีลธรรม"

คุ้มครอง

"ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม คุณธรรม ความคิดที่ถูกที่ดี ความเห็นที่ถูกที่ดี เจตนาที่ถูกที่ดี การเจรจาที่ถูกที่ดี การกระทำที่ถูกที่ดี ความตรง ความรอบคอบ ไม่ประมาท การรู้จักให้รู้จักรับ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม การรู้คุณแทนคุณ วิชา ความเพียร ความอดทน ความไม่เบียดเบียน การรู้จักวางเฉย การรู้จักออกจาก การรู้จักสละ ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง จะเป็นสิ่งที่คุ้มครองผู้ปฏิบัติได้"

ไม่ควรมีหนี้

"ไม่ควรมีหนี้สมบัติรูป สมบัตินาม ทั้งในอดีต ปัจจุบัน หรืออนาคต เราควรวางแผนอนาคตให้ไม่มีหนี้"
"สามารถชดใช้หนี้ได้ด้วยธรรมะ วิชา สมบัติรูป สมบัตินาม"

รับรอง

"รับรองให้ธรรมชาติ รูป นาม สมบัติรูป สมบัตินาม ผู้อื่น การกระทำ การใช้สมบัติรูปหรือสมบัตินาม ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"การรับรอง จะทำให้สิ่งที่ได้รับการรับรองมีความสำเร็จได้ เป็นผล ไม่เป็นโมฆะ"
"การรับรอง อาจจะต้องใช้หลายคนในการรับรอง ตามหลักธรรม ตามหลักวิชา ตามกฎของธรรมชาติ"
"ไม่ให้การรับรองในสิ่งที่ผิด"

การอยู่

"ควรอยู่กับความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ไม่ควรอยู่ได้ด้วยการเบียดเบียน แย่งผู้อื่น ทั้งทางตรงหรือทางอ้อม จะน้อยหรือมากก็ตาม"
"ควรอยู่ได้ด้วยการไม่เบียดเบียนผู้อื่นเลย"
"อยู่ได้ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม การรู้คุณแทนคุณ ความเพียร วิชา ความอดทน ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

ความสงบที่ควรมี รักษา พักจิตใจ

ความสงบที่ควรมี
"ความสงบที่ควรมีอย่างเป็นทางสายกลาง คือความสงบจากความกังวล ความฟุ้งซ่าน อธรรม กิเลส"
สรุป
"ความสงบที่ควรมีอย่างเป็นทางสายกลาง คือความสงบจากอธรรม กิเลส"

รักษา พักจิตใจ
"รักษา พักจิตใจด้วยความสงบจากความกังวล ความฟุ้งซ่าน อธรรม กิเลส"

จะถูกจะดี จะผิดจะไม่ดี

"จะถูกจะดี จะผิดจะไม่ดี อยู่ที่ตนเองคิดและปฏิบัติ"
"จะถูกจะดี จะผิดจะไม่ดี อยู่ที่ตนเองคิดขึ้นมาและปฏิบัติ"

มีความสุขอย่างถูกต้อง และทางที่ไปข้างหน้า

"การมีความสุขอย่างถูกต้อง ด้วยธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา การรู้จักวางเฉย การรู้จักออกจาก ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง จะทำให้มีทางที่ไปข้างหน้าดีได้ ไม่ทุกข์"
ย่อ
"การมีความสุขอย่างถูกต้อง ด้วยธรรมะ วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง จะทำให้มีทางที่ไปข้างหน้าดีได้ ไม่ทุกข์"

อันดับความสำคัญสูงสุดของเรา

"ควรให้อันดับความสำคัญสูงสุดของเราเป็นความถูกความดี
ไม่ควรให้อันดับความสำคัญสูงสุดของเราเป็นสมบัติรูป สมบัตินาม"

ใฝ่และปฏิบัติในความถูกความดี

"ใฝ่และปฏิบัติในความถูกความดี อย่างไม่เป็นกิเลส เป็นสิ่งที่ทำให้มีความสุขอย่างถูกต้อง"
"ใฝ่และปฏิบัติในความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง เป็นสิ่งที่ทำให้มีความสุขอย่างถูกต้อง"
"ใฝ่และปฏิบัติในความเพียร การรู้จักให้รู้จักรับ การรู้คุณแทนคุณ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความตรง ความซื่อสัตย์ ความสุจริต ความเข้มแข็งอดทน ความจริง ความอิสระ อย่างถูกต้อง ไม่เป็นกิเลส"
"ใฝ่และปฏิบัติในความไม่เบียดเบียน ความไม่เป็นอธรรม"

แก้ปัญหามีแรง มีพลัง มีกำลังไม่พอ

"แก้ปัญหามีแรง มีพลัง มีกำลังไม่พอในการอยู่หรือในการทำงานโดยการมีและปฏิบัติธรรมะหลัก ธรรมฝ่ายดีงาม เว้นอธรรม"

ธรรมะหลัก คือ
- ความถูก ธรรมะ ทางสายกลาง
- ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม
- วิชา
- ความไม่เป็นกิเลส

การแก้ปัญหา ทำให้สงบสุข เรียบร้อย

การแก้ปัญหา ทำให้สงบสุข เรียบร้อย
"อธรรม ความไม่มีวิชา วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส ความไม่ใช่ทางสายกลาง จะเป็นต้นเหตุของปัญหา เป็นต้นเหตุของการเบียดเบียน เป็นต้นเหตุของความทุกข์"
"การทิ้งอธรรม ทิ้งวิชาที่ผิดที่ไม่ดีทั้งหมด การตัดอธรรม ตัดวิชาที่ผิดที่ไม่ดีทั้งหมด จะทำให้แก้ปัญหา ทำให้อยู่อย่างมีความสุข สงบสุข เรียบร้อย ไม่เดือดร้อน ไม่เบียดเบียน ไม่ทุกข์ได้"
"การไม่ให้อธรรม ความไม่มีวิชา วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส อยู่เหนือธรรมะ วิชา ความไม่เป็นกิเลส การไม่ยึด ติด พึ่ง พึ่งพา ใช้อธรรม ความไม่มีวิชา วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส ความไม่ใช่ทางสายกลาง จะทำให้แก้ปัญหา ทำให้อยู่อย่างมีความสุข สงบสุข เรียบร้อย ไม่เดือดร้อน ไม่เบียดเบียน ไม่ทุกข์ได้"
"การปฏิบัติความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง จะทำให้แก้ปัญหา ทำให้อยู่อย่างมีความสุข สงบสุข เรียบร้อย ไม่เดือดร้อน ไม่เบียดเบียน ไม่ทุกข์ได้"

การแก้ปัญหาด้วยธรรมะ
"ปัญหาทุกอย่าง สามารถแก้ได้ด้วยธรรมะ"
"การแก้ปัญหาด้วยธรรมะ แก้ที่ตนเองจะเป็นผลมากที่สุด"

ประโยชน์ของความตรง ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม

"การปฏิบัติความตรง ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม มีประโยชน์คือทำให้พ้นจากอธรรม ความผิดความไม่ดี ความหลงผิด ความหลง ความลำเอียง วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส ความไม่ใช่ทางสายกลาง ได้
ทำให้เกิดความถูกต้อง เกิดธรรมะ เกิดความเห็นที่ถูก เกิดธรรมฝ่ายดีงาม เกิดความดีงาม เกิดความยุติธรรม เกิดวิชา เกิดความไม่เป็นกิเลส เกิดทางสายกลาง ได้"
"การปฏิบัติความตรง ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม มีประโยชน์คือทำให้ไม่สับสน ไม่วุ่นวาย ไม่ฟุ้งซ่าน ไม่เบียดเบียน ไม่ทุกข์ ไม่ทรมาน ไม่ได้ไม่ดี ได้
ทำให้มีความสุข สงบสุข เรียบร้อย ได้ดี ได้"

การใช้ไป

"การกระทำต่างๆ จะต้องใช้สมบัติรูปหรือสมบัตินาม วิชาไปอย่างมีสติ เพื่อให้ได้รับอย่างเพียงพอเหมาะสม ไม่เบียดเบียน"
"ควรใช้ไปให้เหมาะสมกับฐานะ สถานภาพ สิ่งที่มีอยู่ ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ใช้สิ่งที่เรามีมากเกินพอไป เพื่อให้ได้สิ่งที่เราไม่มีหรือขาดมา"

การกระทำไป

"มีการกระทำไปให้เหมาะสมกับเนื้องานและผลงาน อย่างถูกหลักธรรม ถูกหลักธรรมฝ่ายดีงาม เป็นความดีงาม ถูกหลักวิชา รู้จักการวางเฉย ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง ไม่หย่อนเกิน ไม่ตึงเกิน"

ใช้ไป

ธรรมะ ๔
- ความถูก ธรรมะ ทางสายกลาง
- ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม
- วิชา
- ความไม่เป็นกิเลส

อธรรม ๔
- ความผิด อธรรม ความไม่ใช่ทางสายกลาง ความหย่อนเกินหรือตึงเกิน
- ธรรมฝ่ายชั่วร้าย ความชั่วร้าย
- ความไม่มีวิชา วิชาที่ผิดที่ไม่ดี
- กิเลส

"การใช้ไปแล้วไม่เป็นผลตามที่หวังหรือเสียเปล่า จะทำให้เราไปปฏิบัติอธรรม เพื่อไม่ให้การใช้ไปเสียเปล่า ซึ่งเป็นทางที่ผิด ไม่ควรปฏิบัติ"
"บริหาร จัดการการใช้ไปให้มีคุณ มีค่า มีประโยชน์ ไม่เสียการใช้ไปไปเปล่า โดยการไม่ปฏิบัติอธรรม ๔ ปฏิบัติธรรมะ ๔"

การใช้ไปเพื่อให้ได้รับทางธรรม

"ใช้ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลสที่มีอยู่ไป ให้ได้รับมาเพียงพอต่อการใช้"

สิ่งที่ทำให้ดีขึ้นได้

"การไม่ปฏิบัติอธรรม ตัดอธรรม ถอนอธรรมทั้งหมด จะทำให้ดีขึ้นได้"
"การทิ้งอธรรม ทิ้งวิชาที่ผิดที่ไม่ดีทั้งหมด จะทำให้ดีขึ้นได้"
"การมีความสุขอย่างถูกต้อง ไม่เป็นกิเลส จะทำให้ดีขึ้นได้"

บทความที่ได้รับความนิยม