วันพุธที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565

ความเหมาะสม พอเหมาะ การปรับแต่ง

ความเหมาะสม พอเหมาะ
ความเหมาะสม จะตามหลักธรรม หลักวิชา กฎของธรรมชาติ สภาพ สถานะ
ความพอเหมาะ คือความไม่มากเกิน ไม่น้อยเกิน ตามหลักธรรม หลักวิชา กฎของธรรมชาติ

"มีความเหมาะสม พอเหมาะ มีจังหวะที่ถูกที่ดีด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ควรมีความเหมาะสม พอเหมาะในทุกๆ ด้าน"

มีความเหมาะสม พอเหมาะ
"ควรมีความเหมาะสม พอเหมาะต่อตนเอง ในทางที่ถูกที่ดี"
"ควรมีความเหมาะสม พอเหมาะต่อขันธ์อื่น ในทางที่ถูกที่ดี"
"ควรมีความเหมาะสม พอเหมาะ ในทางที่ถูกที่ดี"

การปรับแต่ง
"ควรปรับแต่งตามสภาพ สถานะ ความเหมาะสม ความพอเหมาะ ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา การรู้จักวางเฉย การรู้จักออกจาก ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

ความตรง ซื่อสัตย์ ซื่อตรง ถามตนเอง

ความตรง ซื่อสัตย์ ซื่อตรง
"ควรมีจิตสำนึก มีความตรง ซื่อสัตย์ ซื่อตรง ไม่คด ไม่โกง ทั้งต่อตนเองและผู้อื่น ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

ถามตนเอง
"สามารถถามตนเองอย่างตรงๆ ตอบให้ถูก เลือกให้ถูก ควรตอบหรือเลือกอย่างถูกหลักธรรม ถูกคลองธรรม ถูกหลักวิชา แล้วทำได้"
"การถามตนเอง สามารถถามอย่างเป็นเงื่อนไขหรือเป็นตรรกะได้ เช่นถ้าเราทำอย่างนี้แล้วถูก จะทำไหม ถ้าเราทำอย่างนี้แล้วผิด จะทำไหม"
"การถามตนเอง ควรตอบหรือเลือกตรงๆ ตามจริง ตามที่คิดจริงๆ"
"การถามตนเอง ตอบอย่างถูกต้อง แล้วทำได้ จะทำให้เราหยุดยั้งความผิดของตนเองในสถานการณ์นั้นๆ และเกิดความถูกขึ้นมาได้"

วันจันทร์ที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565

ไม่รับหรือไม่เสียสมบัติรูป สมบัตินามเพื่ออธรรม กิเลส

ไม่รับหรือไม่เสียสมบัติรูป สมบัตินามเพื่อ
- อธรรม
- ธรรมฝ่ายไม่ถูกไม่ดี ความไม่ถูกไม่ดี
- วิชาที่ไม่ถูกไม่ดี
- กิเลส

สร้างคน

"สร้างคน ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ไม่ควรสร้างคนด้วยการล่วงเกิน"
ย่อ
"สร้างคน ด้วยความถูกความดี"

วันเสาร์ที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565

เจริญ รุ่งเรือง

"ควรให้ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง เจริญ รุ่งเรือง"
ย่อ
"ควรให้ความถูกความดี เจริญ รุ่งเรือง"

ตัวแปร

"ในที่เราอยู่จริง จะมีตัวแปรอยู่มากมายอย่างจำกัด"
"ควรควบคุม ใช้ตัวแปร อย่างถูกหลักธรรม ถูกหลักวิชา ถูกกฎของธรรมชาติ ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"

วันศุกร์ที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565

การรู้

"ควรรู้ ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง ตามกาล"
"ไม่ควรรู้ ด้วยการใช้สมบัติรูป สมบัตินามอย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส"

การรู้ ด้วยทางสายกลาง

"ควรรู้ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ตามเวลาที่เหมาะสม ด้วยทางสายกลาง"
"ควรรู้พื้นฐาน รูปในที่นี้หมายเป็นรูปธรรมที่ไม่ใช่พื้นฐาน อรูป ธรรม รูปนาม หรือสิ่งต่างๆ อย่างถูกต้อง ตามเวลาที่เหมาะสม ด้วยทางสายกลาง"

พื้นฐาน หมายถึง รูป รส กลิ่น เสียง กายสัมผัส ใจ

วันพฤหัสบดีที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565

ฐาน โครงสร้าง ความสำเร็จ

"สร้างฐาน โครงสร้าง อย่างเป็นความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ฐาน โครงสร้าง ที่ถูกที่ดี จะทำให้ประสบความสำเร็จได้"
"เราสามารถแก้ไขปรับปรุงฐาน โครงสร้าง ให้ถูกต้องมากขึ้นอย่างมีขอบเขตได้"
"ถ้าเรามีฐาน โครงสร้างที่ไม่ถูกไม่ดี สามารถแก้ไขปรับปรุงให้เป็นฐาน โครงสร้างที่ถูกที่ดีได้"

เครื่อง โครงสร้าง ฐาน

"เครื่อง โครงสร้าง จะใช้สำหรับขึ้นแนวบวก
โครงสร้าง ฐาน จะใช้ป้องกันแนวลบที่เป็นอธรรม"
"ใช้ธรรมะ วิชาในการสร้าง แก้ไข ปรับปรุงเครื่อง โครงสร้าง ฐาน"
"ควรใช้ธรรมะ วิชาสร้าง แก้ไข ปรับปรุงเครื่อง โครงสร้างให้ดี มีคุณภาพ แข็งแรง จะทำให้ขึ้นแนวบวกได้เร็วและมีคุณภาพ ส่วนการลดลงในแนวบวกจะลดช้าลงและยากขึ้น
ควรใช้ธรรมะ วิชาสร้าง แก้ไข ปรับปรุงโครงสร้าง ฐานให้แข็งแรง มั่นคง จะทำให้การลดช้าลง ลดลงได้ยากขึ้น"
"สร้าง แก้ไข ปรับปรุงเครื่อง โครงสร้าง ฐาน ของแนวลบ แนวกลาง แนวบวก ให้แข็งแรง มีคุณภาพ ไปทีละหน่วย"
"อยู่ ปฏิบัติกับแนวบวก แนวกลาง แนวลบอย่างไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส"

วันพุธที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565

การมีจิตสำนึก ความเห็น เจตนาที่ถูกที่ดี

"มีจิตสำนึก ความเห็น เจตนาที่ถูกที่ดี ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา การรู้จักวางเฉย การรู้จักออกจาก ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"มีจิตสำนึก ความเห็น เจตนาที่ถูกที่ดี ด้วยเมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา การไม่เบียดเบียน"
"มีจิตสำนึก ความเห็น เจตนาที่ถูกที่ดี ด้วยความเป็นกลาง ความเป็นธรรม การรู้คุณแทนคุณ ความตรง ความจริง ความจริงใจ"

วันอังคารที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565

กันชน

"ใช้ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง หรือสมบัติรูป สมบัตินาม เป็นกันชนให้ขันธ์(ผู้อื่นหรือตนเอง)เพื่อให้ขันธ์ถูกดีอยู่ได้ ไม่ผิดไม่ไม่ดี ไม่ทุกข์ แก้ปัญหาได้ หรือเป็นกันชนให้รูปนามต่างๆ ได้"

วันจันทร์ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565

ข้อเสียของการบังคับผู้อื่น ข้อดีของการมีอิสระในความถูกความดี

ข้อเสียของการบังคับผู้อื่น คือ
- จะไม่ใช่จิตสำนึก เจตนาที่แท้จริงของผู้ที่ถูกผู้อื่นบังคับ
- ทำให้เครียด ตึงเครียด หย่อนเกินหรือตึงเกิน ไม่เป็นอิสระ ทั้งผู้บังคับผู้อื่นและผู้ที่ถูกผู้อื่นบังคับ
- ทำให้เป็นทุกข์ ทรมาน ทั้งผู้บังคับผู้อื่นและผู้ที่ถูกผู้อื่นบังคับ
- ทำให้ผลงานที่ได้มา ไม่ได้คุณภาพ

ข้อดีของการมีอิสระในความถูกความดี คือ
- จะเป็นไปด้วยจิตสำนึก เจตนาที่แท้จริงที่ถูกที่ดีได้
- ไม่เครียด ไม่ตึงเครียด พอเหมาะพอดี เป็นอิสระ กระทำด้วยตนเองได้
- ไม่ทุกข์ ไม่ทรมาน จากการบังคับผู้อื่นหรือถูกผู้อื่นบังคับ
- ทำให้ได้ผลงานที่มีคุณภาพได้

ควรบังคับตนเองให้ถูกต้องและดีอยู่

การจริงใจ มีไมตรี เป็นมิตร

"จริงใจ มีไมตรี เป็นมิตร อย่างถูกต้อง แล้ววางเฉยไปด้วยได้"

ถูกต้อง คือ ถูกหลักธรรม ถูกคลองธรรม ถูกหลักวิชา

วันเสาร์ที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565

การหา ใช้สมบัติรูป สมบัตินาม

"หา ใช้สมบัติรูป สมบัตินาม อย่างเป็นความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความพอเหมาะ วิชา รู้จักวางเฉย รู้จักออกจาก ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"
ย่อ
"หา ใช้สมบัติรูป สมบัตินาม อย่างเป็นธรรมะ วิชา ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"

การทำให้สำเร็จสมบูรณ์

"ทำให้สำเร็จสมบูรณ์ ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความตรง วิชา การรู้จักวางเฉย การรู้จักออกจาก ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
ย่อ
"ทำให้สำเร็จสมบูรณ์ ด้วยธรรมะ ความถูกความดี ความตรง วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

การพึ่งพาธรรมะด้วยตนเอง

"พึ่งพาธรรมะด้วยตนเอง โดยการใช้จิตสำนึก ความเห็น เจตนา วิชา ที่ถูกที่ดีของตน ในการคิดธรรมะขึ้นมาปฏิบัติด้วยตนเอง แล้วเก็บบันทึกไว้ วิธีนี้เป็นวิธีที่จะทำให้ได้รับคุณของธรรมะสูงที่สุด"

การกระทำให้เป็นแนวบวก

การกระทำให้เป็นแนวบวก คือ การกระทำ สร้างสรรค์ ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม คุณธรรม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความตรง วิชา การรู้จักวางเฉย การรู้จักออกจาก ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง

วันพุธที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565

การปฏิบัติที่ทำให้เป็นปกติสุข

การปฏิบัติที่ทำให้เป็นปกติสุข คือ
๑. ไม่โลภในความมี
๒. ไม่ปฏิบัติอธรรม
๓. ปฏิบัติธรรมะ
๔. กระทำให้เป็นแนวบวก
๕. ใช้วิชาที่ถูกที่ดี

วันอังคารที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565

การใช้วิชา ทักษะ ความสามารถ พลัง

"วิชา ทักษะ ความสามารถ พลัง ในทางที่ถูกที่ดี มีอยู่หลายอย่าง หลายด้าน"
"ใช้วิชา ทักษะ ความสามารถ พลัง ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความตรง วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"เราควรฝึกวิชา ทักษะ ความสามารถ พลัง ในการกระทำธรรมะ ความถูกความดี ความตรง วิชา ความไม่เป็นกิเลส อย่างเป็นทางสายกลาง"
"เราควรใช้วิชา ทักษะ ความสามารถ พลัง ในการกระทำธรรมะ ความถูกความดี ความตรง วิชา ความไม่เป็นกิเลส อย่างเป็นทางสายกลาง"
"เราสามารถบำเพ็ญบารมีควบคู่ไปกับการใช้วิชา ทักษะ ความสามารถ พลัง ในทางที่ถูกที่ดีได้"

วันจันทร์ที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565

การให้กำลังใจกัน

"ควรให้กำลังใจกัน อย่างถูกต้อง"
"ให้กำลังใจตนเอง อย่างถูกต้อง"

การให้

การให้ก่อนรับ
"ให้ก่อนที่จะรับอย่างถูกหลักธรรม ถูกหลักวิชา น้อมนำ นำพาเขา จริงใจ เป็นกลาง เป็นธรรม ด้วยธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความปรารถนาดี วิชา ความเพียร การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

การให้
"ให้อย่างถูกหลักธรรม ถูกหลักวิชา รู้คุณแทนคุณ น้อมนำ นำพาเขา จริงใจ เป็นกลาง เป็นธรรม ด้วยธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความปรารถนาดี วิชา ความเพียร การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

การหาแบบถูก การหาแบบผิด

"การหาแบบถูก คือการหาอย่างเป็นธรรมะ ถูกหลักธรรม ถูกหลักวิชา จะทำให้ได้อย่างไม่เป็นโมฆะ หาได้เพียงพอต่อการใช้ได้"
"การหาแบบผิด คือการหาอย่างเป็นอธรรม ผิดหลักธรรม ผิดหลักวิชา จะทำให้ได้อย่างเป็นโมฆะ ไม่สามารถนำมาใช้ได้"

วันอาทิตย์ที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565

การวางเฉยสำหรับตนเอง ผู้อื่น หรือการกระทำ

การวางเฉยสำหรับตนเอง
"ในการรับให้ตนเองหรือกลุ่มของตนเอง สามารถวางเฉยไปด้วยได้"
"ในขณะทำเพื่อตนเองหรือทำให้ตนเอง สามารถวางเฉยไปด้วยได้"
"การวางเฉยสำหรับตนเอง จะเหมาะสำหรับกรณีที่ตนเองได้รับรูปหรือนามในด้านนั้นๆ เพียงพอแล้วหรือมากเกิน"

การวางเฉยสำหรับผู้อื่น
"ในการคิด พูด สื่อ กระทำเพื่อผู้อื่นหรือให้ผู้อื่น สามารถคิด พูด สื่อ กระทำสลับกับการวางเฉยได้"

การวางเฉยในการกระทำ
"การกระทำในด้านใดที่เพียงพอแล้วหรือมากเกิน สามารถวางเฉยในด้านนั้นๆ ไปด้วยได้"

วันเสาร์ที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565

การตั้งจิตเอาไว้ การเพิ่มให้

การตั้งจิตเอาไว้
"ตั้งจิตเอาไว้ที่ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

การเพิ่มให้
"ควรเพิ่มให้ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความถูกความดี วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง
ไม่ควรเพิ่มให้อธรรม ความผิดความไม่ดี วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส"
"ควรเพิ่มให้อย่างเป็นธรรมะ ความถูกความดี วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง
ไม่ควรเพิ่มให้อย่างเป็นอธรรม ความผิดความไม่ดี วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส"
ย่อ
"ควรเพิ่มให้ธรรมะ ไม่ควรเพิ่มให้อธรรม"
"ควรเพิ่มให้อย่างเป็นธรรมะ ไม่ควรเพิ่มให้อย่างเป็นอธรรม"

วันศุกร์ที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565

การนำเอาขันธ์เข้า

"ให้ขันธ์เข้ามาด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ให้ขันธ์เข้ามาด้วยความถูกความดี แล้วปฏิบัติความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"การให้ขันธ์เข้ามาด้วยความถูกความดี ความไม่เป็นกิเลส จะทำให้กระทำความถูกความดี ไม่ไปปฏิบัติอธรรม ไม่ทุกข์ ไม่เดือดร้อนได้"

วันพุธที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565

สรุปธรรมะ ๖ ข้อ

สรุปธรรมะ ๖ ข้อ คือ
๑. เมตตา
๒. กรุณา
๓. มุทิตา
๔. อุเบกขา
๕. ไม่เป็นอธรรม ไม่เบียดเบียน
๖. ไม่เป็นกิเลส

หลักธรรมะ ๖ คือ
- ปรารถนา คิด ปฏิบัติให้ตนเองหรือผู้อื่นถูก ดี ได้ดี มีความสุข อย่างเป็นกลาง เป็นธรรม
- ปรารถนา คิด ปฏิบัติให้ตนเองหรือผู้อื่นไม่ผิด ไม่ชั่ว ไม่ได้ไม่ดี ไม่ทุกข์ อย่างเป็นกลาง เป็นธรรม
- พลอยยินดีเมื่อเขาอยู่ดีมีสุข ได้ดีมีสุข
- การรู้จักวางเฉย รู้จักปล่อยวาง การรู้จักวางใจเป็นกลาง
- การไม่เบียดเบียน
- ความไม่เป็นกิเลส ความไม่มีกิเลส

ถูก หมายถึง ถูกคลองธรรม ถูกหลักวิชา
ผิด หมายถึง ผิดคลองธรรม ผิดหลักวิชา

วันจันทร์ที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565

จิตใจสูง จิตใจต่ำ

จิตใจสูง เกิดจากความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง

จิตใจต่ำ เกิดจากความผิด อธรรม ธรรมฝ่ายไม่ดี ความไม่ดี วิชาฝ่ายไม่ถูกไม่ดี กิเลส

วันเสาร์ที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565

อันดับของฝ่ายธรรมะ ฝ่ายกิเลส

อันดับความสำคัญของการกระทำ หรืออันดับความสุข ของฝ่ายธรรมะ
๑. ความไม่มีกิเลส ความไม่เป็นกิเลส
๒. ธรรมะ
๓. ธรรมฝ่ายดีงาม
๔. วิชา

อันดับความต้องการ หรืออันดับความสุข ของฝ่ายกิเลส
๑. กิเลส
๒. อธรรม
๓. ธรรมฝ่ายไม่ถูกไม่ดี
๔. วิชาฝ่ายไม่ถูกไม่ดี

สรุปเกี่ยวกับรูป นาม

 "การใช้รูป นาม อย่างไม่เป็นกิเลส จะทำให้ไม่เบียดเบียน หรือไม่ทุกข์ได้"

วันศุกร์ที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565

ทางเจริญ ทางเสื่อม

"ควรแยกออกว่าทางไหนเป็นทางเจริญ ทางไหนเป็นทางเสื่อม"
"ไม่มุ่งไปทางเสื่อม มุ่งไปทางเจริญ"

บทความที่ได้รับความนิยม