วันศุกร์ที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2566

กระจายธรรมะ เข้าหา

กระจายธรรมะ
"ควรกระจายธรรมะไปยังที่ต่างๆ อย่างถูกต้อง เหมาะสม"

เข้าหา
"เข้าหาความถูกต้อง ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ไม่เข้าหาความผิด อธรรม ธรรมฝ่ายไม่ดี ความไม่ดี วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส ความไม่ใช่ทางสายกลาง"
"ไม่เข้าหาสมบัติรูป สมบัตินาม อย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส"
"ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงามเป็นสิ่งที่ยั่งยืนกว่าสมบัติรูป สมบัตินาม"
ย่อ
"ควรเข้าหาความถูก ธรรมะ"

วันพุธที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2566

ทางที่ไปข้างหน้า

"การปฏิบัติความถูกต้องความดีเท่านั้น ไม่ปฏิบัติความผิดความไม่ดีเลย จะทำให้ทางที่ไปข้างหน้าดี"
"การไม่ปฏิบัติความผิดความไม่ดี กับการปฏิบัติความผิดความไม่ดี จะมีผลไม่เหมือนกัน"

วันจันทร์ที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2566

ความถูก

"ความถูกจะครบกว่าความผิด"
"เราหวังว่าความถูกจะมีแรงมากกว่าความผิด ความถูกจะชนะความผิด"
"มีความสุขจากความถูก"

วันอาทิตย์ที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2566

สมใจ สมปรารถนา

"สมใจ สมปรารถนาอย่างเป็นความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันศุกร์ที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2566

สิ่งที่ทำให้เป็นปกติ

สิ่งที่ทำให้เป็นปกติ คือ
- รักษาสุขภาพ ไม่โกงทางร่างกาย
- ไม่ติด
- มีอิสระอย่างไม่หย่อนเกิน ไม่ตึงเกิน มีอิสระอย่างถูกคลองธรรม เป็นวิชา ไม่เป็นกิเลส

การปฏิบัติสิ่งที่ทำให้เป็นปกติ จะสามารถทำให้ชดใช้กรรมหรือชดใช้หนี้ด้วยการกระทำความถูกความดีได้
การปฏิบัติสิ่งที่ทำให้เป็นปกติ จะสามารถทำให้ไม่เบียดเบียนกัน เกิดความสงบสุข เรียบร้อยได้

วันพุธที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2566

จิตใจเสียหาย รักษาจิตใจ

"จิตใจจะเสียหายจากความไม่เที่ยง"
"จิตใจจะเสียหายจากการปฏิบัติความผิด อธรรม ธรรมฝ่ายไม่ดี ความไม่ดี วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส ความไม่ใช่ทางสายกลาง"
"จะสามารถซ่อมแซมจิตใจที่เสียหาย หรือรักษา ทำให้จิตใจเป็นปกติ ไม่เสียหายได้โดยการปฏิบัติความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันเสาร์ที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2566

การมี ใช้ทักษะ วิชา ไม่รับสิ่งตอบแทนจากอธรรมหรือกิเลส

การมี ใช้ทักษะ วิชา
"มี ใช้ทักษะ วิชา ด้วยความไม่เป็นอธรรม"
"มี ใช้ทักษะ วิชา ด้วยความไม่เป็นกิเลส"

ไม่รับสิ่งตอบแทนจากอธรรมหรือกิเลส
"ไม่รับสิ่งตอบแทนจากการปฏิบัติอธรรมหรือกิเลส"
"ไม่รับสิ่งตอบแทนจากการเจาะระบบอย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส"

วันพฤหัสบดีที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2566

แปลงความสุขหรือสิ่งที่ได้รับ เนื้อของสิ่งที่ได้รับ

แปลงความสุขหรือสิ่งที่ได้รับ
"ปฏิบัติธรรมะนำ แล้วเราสามารถแปลงความสุขหรือสิ่งที่ได้รับที่ไม่เป็นอธรรมทางพื้นฐาน รูปหรือรูปธรรม อรูปหรือนามธรรม ไปเป็นความสุขหรือการได้รับทางธรรมอย่างเป็นวิชา มีขีดจำกัด ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลสได้ จะทำให้ถูกต้อง ดีอยู่ได้"
"สามารถแปลงความสุขหรือสิ่งที่ได้รับที่ไม่เป็นอธรรมทางพื้นฐาน รูปหรือรูปธรรม อรูปหรือนามธรรม ไปเป็นความสุขหรือการได้รับทางธรรม ได้โดยการปฏิบัติธรรมะ ปฏิบัติธรรม ปฏิบัติสมาธิ ใช้วิชา"
"เลือกวางเฉยไม่รับความสุขทางพื้นฐาน รูปหรือรูปธรรม อรูปหรือนามธรรม เลือกรับความสุขทางธรรมอย่างเป็นวิชา มีขีดจำกัด ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลสได้"
"ความสุขทางธรรมจะเบากว่า ละเอียดกว่า ประณีตกว่าความสุขทางพื้นฐาน รูปหรือรูปธรรม อรูปหรือนามธรรม"
"การรับความสุขหรือสิ่งต่างๆ ทางพื้นฐาน รูปหรือรูปธรรม อรูปหรือนามธรรม โดยตรงจะทำให้เสีย ผิด ไม่ดี หรือเกิดอธรรม เกิดกิเลสได้"
"สามารถรับความสุขหรือสิ่งต่างๆ ทางธรรม อย่างเป็นวิชา มีขีดจำกัด ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส ได้โดยตรง จะทำให้ถูกต้อง ดีอยู่ได้"

เนื้อของสิ่งที่ได้รับ
"สิ่งที่ได้รับจากเนื้อหยาบไปละเอียดเป็น สิ่งที่ได้รับทางพื้นฐาน สิ่งที่ได้รับทางรูปหรือรูปธรรม สิ่งที่ได้รับทางอรูปหรือนามธรรม สิ่งที่ได้รับทางธรรม ตามลำดับ"

การปรารถนาดี

"มีความปรารถนาดีต่อตนเองหรือผู้อื่น อย่างเป็นกลาง เป็นธรรม"
"มีความปรารถนาให้ตนเองหรือผู้อื่นไม่ได้ไม่ดี อย่างเป็นกลาง เป็นธรรม"
"มีการปรารถนาดีแล้ว ควรรู้จักการวางเฉยด้วย"

ย่อ
"มีความปรารถนาดี อย่างเป็นกลาง เป็นธรรม"
"มีความปรารถนาให้ไม่ได้ไม่ดี อย่างเป็นกลาง เป็นธรรม"
"มีการปรารถนาดีแล้ว ควรรู้จักการวางเฉยด้วย"

วันอังคารที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2566

การปฏิบัติ

"การปฏิบัติที่ควร คือ คิดธรรมะทั้งหมด คิดธรรมฝ่ายดีงามทั้งหมด คิดอธรรมทั้งหมด คิดกิเลสทั้งหมด แล้วเอาชนะอธรรมทั้งหมด เอาชนะกิเลสทั้งหมด ปฏิบัติธรรมะ ปฏิบัติธรรมฝ่ายดีงาม"

วันจันทร์ที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2566

ถูกดี ผิดไม่ดี

"ควรรู้ว่าสิ่งไหนเป็นสิ่งที่ถูกที่ดี คือถูกหลักธรรม ถูกหลักธรรมฝ่ายดีงาม ถูกหลักวิชา
รู้ว่าสิ่งไหนเป็นสิ่งที่ผิดที่ไม่ดี คือผิดหลักธรรม ผิดหลักธรรมฝ่ายดีงาม หรือผิดหลักวิชา"

"มีเป้าหมายเป็นสิ่งที่ถูกที่ดี ไม่มีเป้าหมายเป็นสิ่งที่ผิดที่ไม่ดี"
"ปรารถนาในสิ่งที่ถูกที่ดี ไม่ปรารถนาในสิ่งที่ผิดที่ไม่ดี"
"มีแรงผลักดันที่ถูกที่ดี ไม่มีแรงผลักดันที่ผิดที่ไม่ดี"
"เลือกในสิ่งที่ถูกที่ดี ไม่เลือกในสิ่งที่ผิดที่ไม่ดี"
"เข้าหาในสิ่งที่ถูกที่ดี ไม่เข้าหาในสิ่งที่ผิดที่ไม่ดี"
"ให้สิ่งที่ถูกที่ดีนำทางให้ ไม่ให้สิ่งที่ผิดที่ไม่ดีนำทางให้"
"ฝึกในสิ่งที่ถูกที่ดี ไม่ฝึกในสิ่งที่ผิดที่ไม่ดี"
"ตั้งหลักด้วยสิ่งที่ถูกที่ดี ไม่ตั้งหลักด้วยสิ่งที่ผิดที่ไม่ดี"
"ทำในสิ่งที่ถูกที่ดี ไม่ทำในสิ่งที่ผิดที่ไม่ดี"
"พึ่งพาในสิ่งที่ถูกที่ดี ไม่พึ่งพาในสิ่งที่ผิดที่ไม่ดี"
"รับในสิ่งที่ถูกที่ดี ไม่รับในสิ่งที่ผิดที่ไม่ดี"
"ให้ในสิ่งที่ถูกที่ดี ไม่ให้ในสิ่งที่ผิดที่ไม่ดี"
"ช่วยเหลือด้วยสิ่งที่ถูกที่ดี ไม่ช่วยเหลือด้วยสิ่งที่ผิดที่ไม่ดี"
"น้อมนำ นำพาในสิ่งที่ถูกที่ดี ไม่น้อมนำ ไม่นำพาในสิ่งที่ผิดที่ไม่ดี"

เตือน แก้ปัญหา

"ช่วยบอก เตือนกัน เพื่อไม่ให้ผิดพลาด
และช่วยกันแก้ปัญหา อย่างถูกต้อง ถูกคลองธรรม เป็นวิชา ไม่เบียดเบียนกัน ไม่เป็นอธรรมหรือไม่เป็นกิเลส"

วันอาทิตย์ที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2566

จิตที่ปกติ

จิตที่ปกติ ประกอบไปด้วย
- การจดจ่อกับสิ่งต่างๆ ทีละสิ่ง
- รับรู้สิ่งที่จดจ่อแต่ละสิ่ง
- ความอิ่มใจ
- ความสุข
- ความวางเฉย
- จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่งในแต่ละสิ่งที่จดจ่อ

วันศุกร์ที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2566

ปีติ

"ปีติ คือ ความอิ่มใจ ปีตินี้เป็นอาหารหล่อเลี้ยงใจ เกิดจากการปฏิบัติธรรม สมาธิ ธรรมฝ่ายดีงาม ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

ความผ่อนคลาย ไม่กระสับกระส่าย ไม่เครียด

"ความผ่อนคลาย ไม่กระสับกระส่าย ไม่เครียด โดยธรรมฝ่ายดีงาม การรู้จักวางเฉย วางใจเป็นกลาง รู้จักปล่อยวาง รู้จักออกจาก อย่างถูกหลักธรรม ถูกหลักวิชา ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"

ธรรมวิจัย

"ธรรมวิจัย คือ การเฟ้น หรือการเลือกเฟ้นธรรมะมาใช้ได้อย่างถูกต้อง ในเหตุการณ์หรือการกระทำต่างๆ"

ธรรมแห่งชัยชนะ

ธรรมแห่งชัยชนะ คือ ธรรมะ ๔
ชนะ หมายถึงชนะความผิดความไม่ดี กิเลส

ธรรมะ ๔ คือ
- ความถูก ธรรมะ ทางสายกลาง
- ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม
- วิชา
- ความไม่เป็นกิเลส

ไม่มุ่งไปทางเสื่อม มุ่งไปทางเจริญ
ควรเอาชนะอธรรมทั้ง ๒๕ ข้อ ได้ครบทุกข้อ แล้วไม่ปฏิบัติอธรรม

วันพุธที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2566

แนวติดลบ แนวศูนย์ แนวติดบวก

"ไม่ควรอยู่ในแนวติดลบ ควรอยู่ในแนวศูนย์ แนวติดบวก อย่างมีขอบเขตจำกัดตามกฎของธรรมชาติ ไม่เป็นกิเลส"
"ไม่ควรทำให้อยู่ในแนวติดลบ ควรทำให้อยู่ในแนวศูนย์ แนวติดบวก อย่างมีขอบเขตจำกัดตามกฎของธรรมชาติ ไม่เป็นกิเลส"

วันอังคารที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2566

อยากมี

"ควรอยากมี อย่างเป็นธรรมะ ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส
ควรเป็นกลาง อยากมีก็ไม่ใช่ ไม่อยากมีก็ไม่ใช่ อย่างเป็นธรรมะ ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส
ควรไม่อยากมี อย่างเป็นธรรมะ ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส"

วันอาทิตย์ที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2566

ถูกต้องดีงาม

"ไม่ปฏิบัติอธรรม ไม่ปฏิบัติกิเลส ตัดอธรรม ตัดกิเลส แล้วปฏิบัติความถูกต้องดีงาม"

วันศุกร์ที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2566

หลักการแยกแยะ

"ควรแยกแยะว่าสิ่งไหนถูก สิ่งไหนผิด สิ่งไหนดี สิ่งไหนไม่ดี แล้วตอบได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว ทันเวลา และปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง"

วันอังคารที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2566

ภายในเวลาที่จำกัด โอกาสที่จำกัด

"ควรกระทำภายในเวลาที่จำกัด ภายในโอกาสที่จำกัดตามกฎของธรรมชาติ"
"จะต้องหา เรียง ทำ สร้างภายในเวลาที่จำกัด ภายในโอกาสที่จำกัดตามกฎของธรรมชาติ"
"การใช้วิชา สามารถทำให้กระทำภายในเวลาที่จำกัด ภายในโอกาสที่จำกัดตามกฎของธรรมชาติได้"

วันจันทร์ที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2566

สิ่งที่ไม่ควรมีเหลือเก็บเอาไว้

"สิ่งที่ไม่ควรมีเหลือเก็บเอาไว้ คือ อธรรม บาป กิเลส"

การเชื่อถือ รับมาปฏิบัติ

"เชื่อถือในความถูก รับความถูกมาปฏิบัติ
ไม่เชื่อถือในความผิด ไม่รับความผิดมาปฏิบัติ"

ถูก หมายถึง ถูกหลักธรรม ถูกหลักวิชา
ผิด หมายถึง ผิดหลักธรรม ผิดหลักวิชา

วันอาทิตย์ที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2566

แยกแยะ ขีดจำกัดในเวลาต่างๆ

"ควรแยกแยะส่วนของตนเองและส่วนของผู้อื่นอย่างถูกต้อง ใช้ในส่วนของตนเอง ไม่ก้าวล่วงใช้ส่วนของผู้อื่น"
"การใช้ในส่วนของตนเองเป็นสิ่งที่ถูกต้อง มีคุณประโยชน์มาก"
"การใช้ในส่วนของตนเองทำให้รู้จักอิ่ม รู้จักพอ"
"ควรแยกแยะว่าสิ่งไหนถูก สิ่งไหนผิด สิ่งไหนเป็นของดี สิ่งไหนเป็นของไม่ดี แล้วตอบได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว ทันเวลา และปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง"
"การกระทำ ควรไม่เกินขีดจำกัดในเวลาต่างๆ ในอดีต ปัจจุบัน หรืออนาคต"
"การอยู่กับปัจจุบัน ไม่ควรเกินขีดจำกัดของที่เวลาปัจจุบัน"

วันเสาร์ที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2566

อุปสรรคต่อความถูกความดี

"อุปสรรคต่อความถูกความดี คือการติด"
"ไม่พึ่งพาการติดแล้ว สามารถพึ่งพาธรรมะ ๔ ได้"

สิ่งที่มักจะติด
- อธรรม
- ความหย่อนเกินหรือความตึงเกิน
- ความผิดความไม่ดี
- วิชาที่ผิดที่ไม่ดี
- กิเลส ความอยาก ความโลภ ความโกรธ ความหลง
- พื้นฐาน คือ รูป รส กลิ่น เสียง กายสัมผัส ทางใจ
- รูปธรรม
- นามธรรม
- ธรรม
- การโกง
- ชื่อเสียง หน้าตา

ธรรมะ ๔ คือ
- ความถูก ธรรมะ ทางสายกลาง
- ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม
- วิชา
- ความไม่เป็นกิเลส

วันศุกร์ที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2566

เริ่มต้น

"เมื่อเริ่มต้น สามารถเลือกธรรมะ ธรรมฝ่ายดีไม่มากนักมาปฏิบัติให้ถูกต้อง แล้วค่อยๆ เพิ่มขึ้นอย่างเป็นวิชา มีขีดจำกัด"

วันจันทร์ที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2566

การอยู่ที่ดีงาม

"การอยู่ที่ดีงาม เกิดจากการปฏิบัติธรรมฝ่ายดีงาม"
"ควรมีการอยู่ที่ดีงาม"

วันอาทิตย์ที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2566

รักษา กู้คืนกลับมา

"พยายามรักษาความถูกความดีที่มีอยู่เอาไว้ ด้วยธรรมะ ธรรมฝ่ายดี วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"กู้คืนความถูกความดีที่เคยมีอยู่ในอดีต ให้คืนกลับมาได้ ด้วยธรรมะ ธรรมฝ่ายดี วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

การให้ชนะ พัฒนาตนเองเพื่อชนะ

การให้ชนะ
"ให้ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความถูกต้องดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลางชนะ"

พัฒนาตนเองเพื่อชนะ
"การพัฒนาตนเอง จะสามารถทำให้เอาชนะอธรรม กิเลส หรือปัญหาได้"

ปัญญา วิชา ความรู้สึกตัวทั่วพร้อม

"ปัญญา วิชา ความรู้สึกตัวทั่วพร้อม จะสามารถทำให้คิดและปฏิบัติธรรมะ คิดและปฏิบัติธรรมฝ่ายดีงามได้ สร้าง ทำให้สำเร็จสมหวัง ทำให้เกิดขึ้นมา ทำให้สิ้นสุดไป ตัดอธรรม ตัดกิเลส แก้ปัญหาได้ทุกปัญหา"
"การทำอะไรควรทำอย่างมีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม"

วันศุกร์ที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2566

ความถูก ความจริง เจตนา การกระทำ

"อยู่กับความถูก อยู่กับความจริง"
"กระทำความถูก ตามความเป็นจริง"

ความจริง คือ
- มีเจตนา
- มีการกระทำ
- มีกรรม
- มีหนี้
เจตนา การกระทำจะเป็นเหตุ กรรม หนี้จะเป็นผล

เจตนา การกระทำ
"สิ่งต่างๆ จะเริ่มต้นจากเจตนา แล้วตามด้วยการกระทำ"

"ไม่ควรมีเจตนา การกระทำเป็นความผิด อธรรม ธรรมฝ่ายไม่ดี ความไม่ดี วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส ความไม่ใช่ทางสายกลาง"
"ไม่ควรมีเจตนา การกระทำเป็นความอยาก ความโลภ ความอยากมี ความโลภมี อย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส"

"ควรมีเจตนา การกระทำเป็นความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ควรมีเจตนา การกระทำที่ถูกที่ดี และมีเจตนา การกระทำที่เป็นกลาง"

วันพฤหัสบดีที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2566

วันอังคารที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2566

ใช้ทักษะวิชาที่ถูกที่ดี

"ทักษะวิชาที่ถูกที่ดี คือธรรมฝ่ายดีงาม"
"การใช้ทักษะวิชาที่ถูกที่ดีจะทำให้ตนเองหรือผู้อื่นถูกต้องมากขึ้น ดี รู้จักช่วยเหลือตนเอง รู้จักช่วยเหลือกัน รู้รักษาตน รู้รักษาผู้อื่น เจริญ มีใช้ สร้างความสุข ทำให้มีความสุข ไม่ทุกข์ ไม่เบียดเบียนกัน ไม่ทำร้ายกัน ไม่เอาเปรียบกัน ไม่แย่งกัน เป็นธรรม แก้ปัญหาได้ เพิ่มเติมพลัง ทำให้สำเร็จ สมหวังได้ อย่างเป็นกลาง ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"

วันอาทิตย์ที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2566

หลักธรรมะ

ธรรมะ ๔
- ความถูก ธรรมะ ความว่าง ทางสายกลาง
- ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม
- วิชา
- ความไม่เป็นกิเลส

อธรรม ๔
- ความผิด อธรรม ความไม่ใช่ทางสายกลาง ความหย่อนเกินหรือตึงเกิน
- ธรรมฝ่ายชั่วร้าย ความชั่วร้าย
- ความไม่มีวิชา วิชาที่ผิดที่ไม่ดี
- กิเลส

ไม่ปฏิบัติอธรรม ๔ ปฏิบัติธรรมะ ๔
มีสติในการไม่ปฏิบัติอธรรม ๔ ปฏิบัติธรรมะ ๔
ใช้ทักษะในการปฏิบัติธรรมะ ๔
ธรรมะ ๔ เป็นธรรมที่ทำให้ถูก ดี ได้ดี ไม่ได้ไม่ดี มีความสุขอย่างถูกต้อง ไม่ทุกข์ได้
ธรรมะ ๔ เป็นธรรมที่ทำให้เป็นอิสระได้
ธรรมะ ๔ เป็นทางเจริญ รุ่งเรือง
ธรรมะ ๔ เป็นธรรมที่ทำให้ชนะ
ธรรมะ ๔ เป็นธรรมที่ทำให้สงบสุข เรียบร้อยได้
ธรรมะ ๔ เป็นสิ่งที่คุ้มครองผู้ปฏิบัติได้
ควรเก็บธรรมะ ๔ เอาไว้ในใจ เพื่อนำไปปฏิบัติ จะทำให้ดีขึ้นได้
ไม่เป็นแนวติดลบ เป็นแนวศูนย์ หรือเป็นแนวติดบวก ได้โดยธรรมะ ๔

ธรรมะหลัก ธรรมฝ่ายดีงาม เป็นบารมีที่ถูกที่ดี
ธรรมะ ๔ ธรรมฝ่ายดีงาม เป็นธรรมที่ทำให้มีแรง มีพลัง มีกำลังเพียงพอ

วันพฤหัสบดีที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2566

ธรรมที่ทำให้เจริญ รุ่งเรือง

ธรรมที่ทำให้เจริญ รุ่งเรือง มีคุณ มีค่ามาก คือ
- ความถูก ธรรมะ ทางสายกลาง
- ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม
- วิชา
- ความไม่เป็นกิเลส

วันอังคารที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2566

แก้กรรม แก้หนี้

ในการแก้กรรม แก้หนี้ ด้วยธรรมะ จะต้องชนะอธรรม ไม่มีเจตนากลับไปทำผิดทำไม่ดีนั้นๆ อีกในตอนยังไม่หมดกรรม ไม่หมดหนี้นั้นๆ แล้วชดใช้กรรม ชดใช้หนี้ด้วยการปฏิบัติธรรม ๔ ข้อ ให้เพียงพอ คือ
- ความถูก ธรรมะ ทางสายกลาง
- ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม
- วิชา
- ความไม่เป็นกิเลส

ไม่ควรเอามากๆ แบบผิด

"ไม่ควรเอามากๆ อย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส ควรเอาอย่างพอเหมาะ พอดี รู้จักพอ ทั้งรูปหรือนาม"
"ใช้สิ่งที่มีอยู่ให้มีคุณค่า มีคุณภาพ เกิดประโยชน์สูงสุด อย่างประหยัด มัธยัสถ์ ไม่เป็นกิเลส ทั้งรูปหรือนาม"

วันจันทร์ที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2566

ระบบปฏิบัติการ

"ให้ธรรมะเป็นระบบปฏิบัติการ"
"ให้ธรรมะ ๔ เป็นระบบปฏิบัติการ"

ธรรมะ ๔ คือ
- ความถูก ธรรมะ ทางสายกลาง
- ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม
- วิชา
- ความไม่เป็นกิเลส

วันพฤหัสบดีที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2566

ธรรมะส่วนบุคคล

ธรรมะส่วนบุคคล หรือธรรมะเฉพาะตน หมายถึงธรรมะที่ปฏิบัติด้วยตนเอง เพื่อตนเอง มีผลเฉพาะตนเอง
ธรรมะส่วนบุคคล คือ
- ความถูก ธรรมะ ความว่าง ทางสายกลาง
- วิชา
- ความไม่เป็นอธรรม ความไม่เป็นกิเลส มีความสุข แก้ปัญหา อย่างถูกต้อง

ธรรมะส่วนบุคคล ๒๓ ข้อ
- ความถูก สติ สัมปชัญญะ สมาธิ ปัญญา ความว่าง ทางสายกลาง
- ทักษะที่ถูกที่ดี วิชาที่ถูกที่ดี ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส
- จิตสำนึกที่ถูกที่ดี ความเห็นที่ถูกที่ดี เจตนาที่ถูกที่ดี เก็บ สะสมธรรมะ ความถูกความดี ความไม่เป็นกิเลส ไม่สะสมอธรรม ความผิดความไม่ดี หรือกิเลส
- ความคิดที่ถูกที่ดี ตั้งจิตปรารถนาที่ถูกที่ดี ความปรารถนาดี การตัดสินใจเองอย่างถูกต้อง
- ความประพฤติที่ถูกที่ดี การปฏิบัติที่ถูกที่ดี สุจริต
- ความไม่เบียดเบียนตนเอง การไม่รับสิ่งตอบแทนจากการปฏิบัติอธรรมหรือกิเลส
- ความเพียร พยายามที่ถูกที่ดี ความมุ่งมั่นที่ถูกที่ดี ความไม่ประมาท รอบคอบ
- ความตั้งจิตมั่นปรารถนาที่ถูกที่ดี ความตั้งมั่นที่ถูกที่ดี ตั้งจิตไว้ที่ถูกที่ดี ไม่ตั้งจิตไว้ที่ผิดที่ไม่ดี
- ความมีวินัย
- การเรียงความสำคัญถูกต้อง ถูกอันดับ ถูกลำดับ การเรียงถูกต้อง ถูกเนื้อนาม ถูกลำดับ เป็นระเบียบ การจัดกลุ่มอย่างถูกต้อง
- ความเข้มแข็ง ความอดทนในความถูก วิชา หรือในการกระทำความถูก วิชา ฝืน อดทนอดกลั้นต่อความยากลำบากในทางที่ถูก วิชา
- ความเหมาะสม พอเหมาะ พอดี มีจังหวะที่ถูกที่ดี รู้จักผ่อนหนักผ่อนเบา รู้จักพอ ความไม่มากเกิน ไม่น้อยเกิน ไม่เกินขอบเขตจำกัด ไม่เกินขีดจำกัด รู้จักประหยัด มัธยัสถ์ ทันเวลาที่จำกัด มีความสมดุลอย่างถูกต้อง
- ตั้งค่า ปรับค่าต่างๆ จัดสัดส่วนต่างๆ แบ่งกลุ่ม อย่างถูกต้อง เหมาะสม การจัดสัดส่วนต่างๆ ของขันธ์ การรู้จักปรับตัว อย่างถูกต้อง
- ความสม่ำเสมอ เสมอต้นเสมอปลาย อย่างถูกต้อง
- การรู้จักช่วยเหลือ พึ่งพาตนเอง อย่างถูกต้อง การรู้จักสละ อย่างถูกต้อง
- การรู้จักหยุด รู้จักยับยั้ง การรู้จักพัก การรู้จักออกจาก
- การรู้จักบันทึก รู้จักเก็บบันทึก
- การรู้จักวางเฉย รู้จักปล่อยวาง ละวาง ไม่ยึดติด ไม่ยึดมั่นถือมั่น
- ความเป็นกลางในสภาวธรรม
- ความตรง
- สัจจะ ความจริง จริงใจต่อตนเอง
- ความอิสระ อย่างถูกต้อง
- ความไม่เป็นอธรรม ความไม่มีอธรรม ความไม่เป็นกิเลส ความไม่มีกิเลส มีความสุข แก้ปัญหา อย่างถูกต้อง

สามารถมีความสุขด้วยตนเอง โดยการปฏิบัติธรรมะส่วนบุคคล
มองเห็นความสุขและมีความสุขในธรรมะส่วนบุคคล

มองเห็นความสุขและมีความสุข

"มองเห็นความสุขและมีความสุขในความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความปรารถนาดี การให้กันอย่างถูกต้อง การช่วยเหลือกันอย่างถูกต้อง ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม การรู้คุณแทนคุณ วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันพุธที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2566

สมดุลของการให้ รับ

"สมดุลของการให้ รับ คือการเป็นผู้ให้ เท่ากันกับ การเป็นผู้รับ การให้เท่าไร ก็ได้รับเท่านั้น อย่างไม่เป็นอธรรม ไม่โลภ ไม่ตระหนี่ เป็นธรรมะ เป็นธรรมฝ่ายดี เป็นกลาง เป็นธรรม เป็นวิชา ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"
"สมดุลของการให้ รับ จะทำให้เกิดความถูก ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม การไม่เบียดเบียน การไม่ลำเอียง การไม่เอาเปรียบ การไม่อิจฉาริษยา การไม่มีหนี้ติดค้าง ความไม่หย่อนเกินหรือไม่ตึงเกิน ไม่ทุกข์ มีความสุข ได้"
"ควรทำให้มีสมดุลการให้ รับ"

สิ่งที่ควรเป็น

- เป็น "ผู้ให้" เท่ากันกับเป็น "ผู้รับ" อย่างไม่เป็นอธรรม เป็นธรรมะ เป็นธรรมฝ่ายดี เป็นวิชา ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง
- เข้าใจ "เขา" ให้เท่ากับเข้าใจ "เรา"
- รู้ทัน "สิ่งภายใน" ให้มากกว่าหรือเท่ากับ "สิ่งภายนอก"
- "มองเห็นและมี" ความสุข อย่างไม่เป็นอธรรม เป็นธรรมะ เป็นธรรมฝ่ายดี เป็นวิชา ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง
- อยู่กับ "ปัจจุบัน" ให้มากกว่าอยู่กับ "ความทรงจำ" อย่างเป็นกิเลส

การเกิดสติ ปัญญา

"สติ ปัญญา เกิดจากความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม สมาธิ วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันจันทร์ที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2566

สามัคคี

"สามัคคี ช่วยเหลือกัน ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความปรารถนาดี ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม การรู้คุณแทนคุณ จริงใจ การรู้จักวางเฉย การรู้จักออกจาก วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

"ในการทำงานที่ถูกที่ดี หากเราทำเพียงคนเดียวด้วยวิชาและทางสายกลาง อาจจะต้องใช้ระยะเวลามาก กว่าจะทำงานสำเร็จ
แต่ถ้าหากมีผู้อื่นช่วยทำงานอย่างสามัคคีกันด้วยวิชาและทางสายกลาง จะทำให้ใช้เวลาลดน้อยลงมามาก ในการทำงานให้สำเร็จ"
"ในการทำงานที่ถูกที่ดีให้สำเร็จ เราอาจจะต้องปรับเปลี่ยนการทำ คืออาจจะทำงานคนเดียวไปก่อน แล้วมีผู้ช่วย มีการเปลี่ยนผู้ช่วย มีการเพิ่มผู้ช่วย มีการลดผู้ช่วย หรือกลับไปทำงานคนเดียวอีกสลับไปมา เราสามารถปรับตัวในการทำงานด้วยวิชาและทางสายกลาง"

การกระทำ อยู่กับความถูกความดี และการบังคับ

"กระทำ อยู่กับความถูกความดี โดยไม่ต้องให้ผู้อื่นบังคับ"

วันพฤหัสบดีที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2566

วิชา วิชาที่ผิดที่ไม่ดี

วิชา
"ควรเลือกวิชา ไม่เลือกวิชาที่ผิดที่ไม่ดี"
"ควรใช้วิชา ไม่ใช้วิชาที่ผิดที่ไม่ดี"

วิชาที่ผิดที่ไม่ดี
"ไม่รับหรือน้อมนำวิชาที่ผิดที่ไม่ดีมาใช้ มาเก็บเพื่อใช้ภายหลัง สามารถรู้ เก็บบันทึกวิชาที่ผิดที่ไม่ดีเอาไว้เพื่อรับมือได้"
"ควรทิ้งวิชาที่ผิดที่ไม่ดีที่มีอยู่ไป แล้วไปถือความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดี วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลางแทน"
"เอาชนะวิชาที่ผิดที่ไม่ดี ด้วยธรรมะ ธรรมฝ่ายดี ความถูกความดี วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"วิชาที่ผิดที่ไม่ดีเป็นที่มาของอธรรม กิเลส"
"วิชาที่ผิดที่ไม่ดีเป็นสิ่งที่ทำให้อธรรม กิเลสยังอยู่ต่อ"
"วิชาที่ผิดที่ไม่ดีเป็นสิ่งที่ทำให้อธรรม กิเลสชนะ"

วันจันทร์ที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2566

สำคัญกว่า

"ธรรมะ ธรรมฝ่ายดี ความถูกความดี วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง มีความสำคัญกว่ากิเลสของเรา"
"ความปรารถนาดี ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม การรู้คุณแทนคุณ มีความสำคัญกว่ากิเลสของเรา"
"ตนเอง มีความสำคัญกว่ากิเลสของเรา"
"ผู้อื่น มีความสำคัญกว่ากิเลสของเรา"
"ตนเอง มีความสำคัญกว่าอธรรมของเรา"
"ผู้อื่น มีความสำคัญกว่าอธรรมของเรา"

วันเสาร์ที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2566

ความผิดพลาด

"ความผิดพลาด เกิดจากอธรรม การขาดสติ ขาดสมาธิ ความไม่มีวิชา วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส หรือความหย่อนเกินความตึงเกิน"
"ความไม่ผิดพลาด เกิดจากธรรมะ ธรรมฝ่ายดี ความถูกความดี การมีสติ มีสมาธิ วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันศุกร์ที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2566

ความสุข ๓ ระดับ

"ความสุขที่ถูกต้องแบ่งเป็น ๓ ระดับ คือ
ความสุขน้อย ความสุขปานกลาง หรือความสุขมาก ซึ่งได้มาจากธรรมะ ธรรมฝ่ายดี ความถูกความดี วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

ผลของการยอม ไม่ยอมอธรรม กิเลส

"ผลของการยอมอธรรม กิเลส คือจะมีความเห็นว่าอธรรม กิเลสเป็นสิ่งที่ดีงาม มีประโยชน์ ทำให้มีความสุข"
"ผลของการไม่ยอมอธรรม กิเลส คือจะมีความเห็นว่าอธรรม กิเลสเป็นสิ่งที่ไม่ดีงาม ไม่มีประโยชน์ ทำให้เป็นทุกข์"
"ควรมีความเห็นว่าธรรมะ ธรรมฝ่ายดี ความถูกความดี วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง เป็นสิ่งที่ดีงาม มีประโยชน์ ทำให้ไม่เป็นทุกข์ ทำให้มีความสุข"

ความสุข

"ไม่ควรมีความสุขจากอธรรม ความผิดความไม่ดี วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส ความหย่อนเกินความตึงเกิน
ควรมีความสุขจากธรรมะ ธรรมฝ่ายดี ความถูกความดี วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ควรฝึกให้ไม่มีความสุขจากอธรรม ความผิดความไม่ดี วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส ความหย่อนเกินความตึงเกิน
ควรฝึกให้มีความสุขจากธรรมะ ธรรมฝ่ายดี ความถูกความดี วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันพฤหัสบดีที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2566

ทำให้เสร็จสมบูรณ์

"การกระทำให้เสร็จสมบูรณ์ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง ก่อน ถึงจะนำไปใช้หรือไปเก็บ จะทำให้เราใช้ อยู่อย่างไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลสเลยได้ และอยู่อย่างมีความสุข"
"การกระทำอย่างไม่เสร็จสมบูรณ์ในความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง โดยเจตนา แล้วนำไปใช้เลยหรือไปเก็บ จะทำให้ผู้นั้นใช้ อยู่อย่างเป็นอธรรม เป็นกิเลส และอยู่ด้วยความเป็นทุกข์"
"การกระทำให้เสร็จสมบูรณ์ จะแยกเป็นส่วนๆ ไปได้"
"หากกระทำอย่างไม่เสร็จสมบูรณ์ สามารถนำมาใช้ก่อนหรือเก็บก่อนได้ โดยจะต้องผ่อนกระทำให้เสร็จสมบูรณ์ในภายหลัง"

วันอังคารที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2566

การกระทำเกี่ยวกับอธรรม กิเลส

"การกระทำเกี่ยวกับอธรรม กิเลส เป็น
ควรหยุด ไม่ปฏิบัติ ควรตัดอธรรมความอยากมี อธรรมความโลภมี กิเลสความอยากมี กิเลสความโลภมี"

วันเสาร์ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2566

ถูกหลักธรรม

ถูกหลักธรรม คือ ถูกหลักธรรมะ เป็นกุศลธรรม ถูกคลองธรรม ถูกกฎของธรรมชาติ

"ควรคิด พูด ปฏิบัติอย่างถูกหลักธรรม"

การคิด พูด ปฏิบัติ
"คิด พูด ปฏิบัติด้วยความถูก ธรรมะ ศีล สมาธิ ปัญญา ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

มงคล

"ปฏิบัติด้วยความเป็นมงคล ไม่ปฏิบัติด้วยความไม่เป็นมงคล"
"สร้างเหตุหรือเข้าหาสิ่งที่เป็นมงคล ระวังไม่ให้สิ่งที่ไม่เป็นมงคลเกิดขึ้น"
"แก้ปัญหาด้วยการปฏิบัติอย่างเป็นมงคล ไม่ปฏิบัติอย่างไม่เป็นมงคล"

มงคล คือ เหตุที่นำมาซึ่งความเจริญ, สิ่งที่นำสิริ และความเจริญมาสู่ และป้องกันไม่ให้สิ่งเลวร้ายมากล้ำกราย

ประโยชน์ของสัจจะ

"สัจจะหรือการถือความจริง มีประโยชน์คือทำให้อยู่กับความเป็นจริง รู้ปัญหาที่แท้จริง แก้ปัญหาจริงๆ ได้"

แก้ไขให้ถูก

"แก้ไขให้ถูกด้วยธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"การแก้ไขให้ถูก เริ่มต้นได้จากที่ตนเอง"

เงื่อนไขในการกระทำ

"การกระทำใดๆ ก็ตาม ไม่ควรสร้างเงื่อนไขหรือมีเงื่อนไขในการกระทำอย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส ด้วยทางสายกลาง"
"การกระทำใดๆ ก็ตาม สามารถสร้างเงื่อนไขหรือมีเงื่อนไขในการกระทำเป็นธรรมะ ความถูกความดี วิชา ความไม่เป็นกิเลส ได้ ด้วยทางสายกลาง"

วันพฤหัสบดีที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2566

จบการกระทำ

"สามารถจบการกระทำหรือจบกรรม โดยการทำธรรมะ ทำความถูกความดี ใช้วิชา ไม่ทำอธรรม ไม่ทำความผิดความไม่ดี กระทำอย่างไม่เป็นกิเลส"
"การกระทำอะไรก็ตาม ควรกระทำให้จบ"

คิด

"ไม่คิดร้าย คิดอคติ คิดอกุศล ย้ำคิดอย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส ต่อตนเองหรือผู้อื่น"
"คิดถูก คิดดี คิดอย่างเป็นกลาง เป็นธรรม คิดกุศล คิดอย่างเป็นวิชา คิดวางเฉย ต่อตนเองหรือผู้อื่น"

วันพุธที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2566

การรู้ เข้าถึงธรรมะ

"การไม่คิด ไม่พิจารณาเหตุผลด้วยปัญญา ไม่ปฏิบัติธรรมะ จะทำให้ไม่รู้ ไม่เข้าถึงธรรมะ
การคิด พิจารณาเหตุผลด้วยปัญญา และปฏิบัติธรรมะ จะทำให้รู้ เข้าถึงธรรมะ"

วันอังคารที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2566

เอาชนะอธรรม กิเลส

"เอาชนะอธรรม กิเลสโดยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"เอาชนะอธรรม กิเลสโดยความปรารถนาดี ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม การรู้คุณแทนคุณ การรู้จักวางเฉย การรู้จักออกจาก"
"เอาชนะอธรรม กิเลสโดยการทำถูกทำดี แก้ปัญหา ด้วยธรรมะ วิชา ทางสายกลาง"

"ควรเอาชนะอธรรม กิเลสในตัวเรา แล้วไม่ปฏิบัติอธรรม กิเลส"
"ควรเอาชนะอธรรม กิเลส แล้วไม่ปฏิบัติอธรรม กิเลส"
"ควรเอาชนะอธรรมความโลภมี กิเลสความโลภมี"

มุมมองธรรม ผล

มุมมองธรรม
"ควรมองมุมมองธรรมด้วย"

ผล
"ธรรมะ ความถูกความดี จะเป็นผลเฉพาะตนสำหรับผู้ปฏิบัติ"
"อธรรม ความผิดความไม่ดี จะเป็นผลเฉพาะตนสำหรับผู้ปฏิบัติ"

วันพฤหัสบดีที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2566

ประสบความสำเร็จ สมหวัง มีความสุข

ประสบความสำเร็จ สมหวัง
"เราควรประสบความสำเร็จ สมหวัง อย่างถูกต้อง ไม่เป็นอธรรม"

มีความสุข
"มีความสุขในธรรม อย่างถูกต้อง ไม่เป็นกิเลส"
"ควรมีความสุข อย่างถูกต้อง ไม่เป็นอธรรม"

หลักในการเชื่อ รู้ เข้าใจ

หลักในการเชื่อ
"ไม่ควรเชื่อตามสิ่งที่ผู้อื่นคิดหรือทำเอาไว้ทันที ควรเชื่อเมื่อคิด เห็นตามเหตุผล ด้วยปัญญา"

รู้ เข้าใจ
"ควรรู้ เข้าใจในความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง จริงๆ แล้วนำไปใช้ ไปปฏิบัติ"
"ควรรู้ เข้าใจในความจริง ธรรมชาติ กฎของธรรมชาติ แล้วปฏิบัติอย่างถูกต้อง"

วันอังคารที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2566

การใช้ระบบเปิด ระบบปิด

"ควรใช้ระบบเปิดในตอนกลางวัน ใช้ระบบปิดในตอนกลางคืน"
"สามารถใช้ระบบปิดก็ไม่ใช่ ระบบเปิดก็ไม่ใช่ ในการตั้งหลัก"

วันจันทร์ที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2566

เข้มแข็ง

"ควรเข้มแข็งในธรรมะ ความถูกความดี ด้วยทางสายกลาง"
"ควรเข้มแข็งในธรรมะ ความถูกความดี ให้มากและเพียงพอ ด้วยทางสายกลาง"

"ควรเข้มแข็งในวิชา ความไม่เบียดเบียน ความไม่เป็นกิเลส ด้วยทางสายกลาง"
"ควรเข้มแข็งในวิชา ความไม่เบียดเบียน ความไม่เป็นกิเลส ให้มากและเพียงพอ ด้วยทางสายกลาง"

วันอาทิตย์ที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2566

ความติด

"ควรละความติดทั้งหมด ด้วยความถูก ธรรมะ วิชา การรู้จักวางเฉย การรู้จักวางใจเป็นกลาง การรู้จักปล่อยวาง การรู้จักออกจาก การรู้จักสละ การรู้จักสลัดคืน ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันเสาร์ที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2566

เชิดชู

"เชิดชูความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"เชิดชูความเป็นกลาง ความเป็นธรรม"

ลำดับความสำคัญของเป้าหมายและการทำ การเรียงความสำคัญ

ลำดับความสำคัญของเป้าหมายและการทำ
ลำดับความสำคัญของเป้าหมายและการทำ คือ
๑. คิด ปฏิบัติธรรมะในการตัดกิเลส ตัดกิเลสทั้งหมด
๒. คิด ปฏิบัติธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม
๓. คิด ปฏิบัติ ใช้วิชา

กระทำด้วยทางสายกลาง

การเรียงความสำคัญ
"ควรเรียงความสำคัญถูกต้อง เป็นกลาง เป็นธรรม ถูกอันดับ ถูกลำดับ ตามหลักธรรม หลักวิชา และกฎของธรรมชาติ"

วันศุกร์ที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2566

ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ

"การคิด เรียนรู้ ฝึก ใช้ธรรมะ การคิด เรียนรู้ ฝึก ใช้วิชาจะมีทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ"
"ควรกระทำภาคทฤษฎีก่อนภาคปฏิบัติ"
"ควรใช้ทั้งทางภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ"
"ในการกระทำ ควรใช้ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างละครึ่ง"

วันพฤหัสบดีที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2566

การเลือก เข้าหา อธิษฐาน

การเลือก เข้าหา
"เลือก เข้าหา ไปตามทางความถูก"
"อธิษฐานว่าจะไปตามทางความถูก"

อธิษฐาน
"อธิษฐานว่าจะไปตามทางความถูกความดี ความไม่เป็นกิเลส"
"อธิษฐานว่าจะทำความถูกความดี ความไม่เป็นกิเลส"
"อธิษฐานว่าจะไม่ทำอธรรมหรือความผิดความไม่ดี"

การมองให้เห็นสิ่งต่างๆ

"ควรมองให้เห็นว่าธรรมไหนเป็นธรรมที่ถูก ธรรมไหนเป็นธรรมที่ผิด"
"ควรมองให้เห็นว่าสิ่งไหนเป็นสิ่งที่ถูก สิ่งไหนเป็นสิ่งที่ผิด"
"กระทำธรรมที่ถูก สิ่งที่ถูก ไม่กระทำธรรมที่ผิด สิ่งที่ผิด"

วันพุธที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2566

ธรรมะ อธรรม

"ในการกระทำ จะต้องใช้กลุ่มธรรมะหลายข้อมาปฏิบัติ จึงจะสำเร็จได้"
"ในการใช้ธรรมะมาปฏิบัติในแต่ละครั้ง จะทำให้ธรรมะก้าวหน้าไปได้อย่างมีขีดจำกัด"
"เราสามารถปฏิบัติธรรมะสะสมเอาไว้อย่างไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง เพื่อให้มีธรรมะใช้อย่างเพียงพอในภายหลัง"
"ผู้ที่ปฏิบัติอธรรม จะมีการหาอธรรมมาเติม มาเก็บ และใช้"

วิชา ๓ ขั้น

วิชาแบ่งเป็น ๓ ขั้น คือ ขั้นต้น ขั้นกลาง และขั้นสูง

"ไม่ควรปิดวิชา ๓ ขั้น ของตนเอง ยกเว้นตอนพัก"
"ไม่ควรปิดวิชา ๓ ขั้น ของผู้อื่น"
"ควรฝึกวิชาทั้ง ๓ ขั้น อย่างถูกต้อง ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"

วันพุธที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2566

ความจริง

ความจริง
"ควรรู้ความจริงในความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ควรรู้ความจริงในอธรรม กิเลส"
"ไม่ควรลุ่มหลงในอธรรม กิเลส"

รู้ความจริง
"ควรมองให้เห็น รู้ในความจริง"
"ควรมองให้เห็น รู้ในความจริงของสิ่งต่างๆ"
"ควรมองให้เห็น รู้ในความรู้ตามความเป็นจริง"
"การรู้ตามความเป็นจริงได้ จะต้องมีฐานที่ถูกที่ดีก่อน"
"ฐานที่ถูกที่ดีจะเป็นความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันอังคารที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2566

การใช้ธรรมะ

"ใช้ธรรมะ 
เพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อตนเองหรือผู้อื่น 
เพื่อเข้าถึงความถูกต้องความดี 
เพื่อให้ไม่เข้าหาความผิดความไม่ดี 
เพื่อให้ไม่ยึดติด ไม่ยึดมั่นถือมั่น 
เพื่อให้ไม่เบียดเบียน 
เพื่อให้ไม่หลงผิด 
เพื่อให้เดินไปตามทางที่ถูกต้อง 
เพื่อให้ไม่เป็นโมฆะ 
เพื่อให้ไม่ฟุ้งซ่าน 
เพื่อให้มีสติ มีสัมปชัญญะ มีสมาธิ 
เพื่อให้ไม่ทึบ 
เพื่อให้ปลอดโปร่ง 
เพื่อให้เกิดปัญญา 
เพื่อให้มีวิชา 
เพื่อให้สุขอย่างถูกต้องพอประมาณ 
เพื่อให้ทุกข์น้อยที่สุด 
เพื่อให้ไม่เป็นกิเลส 
เพื่อให้สดชื่น สดใส แจ่มใส ร่าเริง เบิกบาน"

วันอาทิตย์ที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2566

การใช้สิ่งที่เรามีอยู่

"เราควรใช้สิ่งที่เรามีอยู่อย่างมีค่า เกิดประโยชน์ เป็นประโยชน์ต่อตนเองหรือผู้อื่น"
"เราควรใช้ธรรมที่เรามีอยู่อย่างมีค่า เกิดประโยชน์ เป็นประโยชน์ต่อตนเองหรือผู้อื่น"

วันเสาร์ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2566

แข็งข้อ ต่อต้าน

"แข็งข้อ ต่อต้านอธรรม ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
ย่อ
"แข็งข้อ ต่อต้านอธรรม ด้วยการทำถูกทำดี อย่างเป็นวิชา ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"

เที่ยงธรรม เที่ยงตรง เถนตรง

"มีความเที่ยงธรรม ความเที่ยงตรง ความเถนตรง อย่างถูกต้อง ถูกหลักธรรม ถูกหลักวิชา ถูกกฎของธรรมชาติ ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"

วันศุกร์ที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2566

การสร้างขวัญ กำลังใจ

"สร้างขวัญ กำลังใจในความถูกความดี ในการกระทำความถูกความดี ให้ตนเองหรือผู้อื่น ด้วยแรงผลักดันที่ถูกต้อง คือ แรงผลักดันจากความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความจริงใจ วิชา ความไม่เป็นกิเลสที่ผิดที่ไม่ดี ทางสายกลาง"

วันพฤหัสบดีที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2566

แรงผลักดันที่ถูกที่ดี กิเลสที่ผิดที่ไม่ดี

แรงผลักดันที่ถูกที่ดี คือ แรงผลักดันจากความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลสที่ผิดที่ไม่ดี ทางสายกลาง
กิเลสที่ผิดที่ไม่ดี คือ แรงผลักดันจากความผิด อธรรม ธรรมฝ่ายไม่ดี ความไม่ดี วิชาที่ผิดที่ไม่ดี ความโลภ ความโกรธ ความหลง ความไม่ใช่ทางสายกลาง

"แรงผลักดันที่ถูกที่ดี จะไม่ใช่กิเลสที่ผิดที่ไม่ดีเลย"
"เราควรแยกแรงผลักดันที่ถูกที่ดี และกิเลสที่ผิดที่ไม่ดี ออกจากกันอย่างถูกต้องชัดเจน แล้วเลือกปฏิบัติแรงผลักดันที่ถูกที่ดี ไม่ปฏิบัติ ตัด ถอนกิเลสที่ผิดที่ไม่ดีให้หมดไป"
"เราไม่ควรตัด ถอนแรงผลักดันที่ถูกที่ดีออกไป"
"เราสามารถมีแรงผลักดันที่ถูกที่ดีได้ ไม่ควรมีกิเลสที่ผิดที่ไม่ดี"
"การมีแรงผลักดันที่ถูกที่ดี จะทำให้มีขวัญ มีกำลังใจ ปฏิบัติความถูกความดีได้"
"การไม่ปฏิบัติ ตัด ถอนกิเลสที่ผิดที่ไม่ดี จะทำให้มีขวัญ มีกำลังใจ ไม่ปฏิบัติความผิดความไม่ดีได้"

วันอังคารที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2566

ประตูสู่ความถูกความดี

ธรรมที่เป็นประตูสู่ความถูกความดี คือ
- ความปรารถนาดี
- ความเป็นกลาง
- ความเป็นธรรม
- ความตรง
- ทางสายกลาง

อันดับความสำคัญ

อันดับความสำคัญตามลำดับ เป็น
- ธรรมะ ความถูกความดี
- วิชา
- สมบัติรูป สมบัตินาม รวมถึงขันธ์

ไม่ควรให้อันดับความสำคัญสูงสุดเป็นอธรรม ความผิดความไม่ดี
ไม่ควรให้อันดับความสำคัญสูงสุดเป็นสมบัติรูป สมบัตินาม
ไม่ควรเป็นอธรรมนิยมหรือความผิดความไม่ดีนิยม ไม่ควรเป็นสมบัติรูป สมบัตินามนิยม ควรเป็นธรรมะนิยมหรือความถูกความดีนิยม

การแก้ความโลภ ความโลภมี

"แก้ความโลภ ความโลภมีโดยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความปรารถนาดี ความเพียร ความมีเหตุผล การรู้คุณแทนคุณ การรู้จักให้รู้จักรับ การรู้จักสละ รู้จักแก้ปัญหา ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความตรง ความจริง ความจริงใจ วิชา การรู้จักวางเฉย การรู้จักปล่อยวาง การรู้จักออกจาก ความไม่เป็นอธรรม ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
ย่อ
"แก้ความโลภ ความโลภมีโดยความปรารถนาดี ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ทางสายกลาง"

วันจันทร์ที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2566

การแก้ความเห็นแก่ตัว

"แก้ความเห็นแก่ตัวได้โดยการมีความปรารถนาดี มีธรรมฝ่ายดี มีวิชา มีความเพียร มีเหตุผล การรู้คุณแทนคุณ การรู้จักให้รู้จักรับ การรู้จักสละ รู้จักแก้ปัญหา มีความเป็นกลาง มีความเป็นธรรม มีความตรง การรู้จักวางเฉย การรู้จักปล่อยวาง การรู้จักออกจาก มีความไม่เป็นอธรรม มีความไม่เป็นกิเลส มีทางสายกลาง"
ย่อ
"แก้ความเห็นแก่ตัวได้โดยการมีความปรารถนาดี มีความเป็นกลาง มีความเป็นธรรม มีทางสายกลาง"

ซ่อมแซม รักษาขันธ์

"ขันธ์จะเสียหายได้"
"ซ่อมแซม รักษาขันธ์ของตนเองหรือผู้อื่น ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"มีความเป็นกลาง มีความเป็นธรรม มีวิชาก่อน แล้วถึงจะซ่อมแซม รักษาขันธ์ของตนเองหรือผู้อื่นได้"

วันเสาร์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2566

สิ่งไม่ควรปฏิบัติ ควรตัด ควรถอน ๑๔ ข้อ

การไม่ปฏิบัติ ตัด ถอนสิ่งเหล่านี้ ทำให้ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลสได้ ทำให้สงบสุข เรียบร้อยได้
สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งไม่ควรปฏิบัติ ควรตัด ควรถอน อย่างเป็นทางสายกลาง
- กาย อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส
- ความลังเลในธรรมะหรือความถูกความดี ความเห็นผิด
- การกระทำผิดจากเป้าหมายที่แท้จริงที่ถูกที่ดี การมีความสุขในทางที่ผิดที่ไม่ดีหรือเป็นกิเลส

- การใช้พื้นฐาน ทางรูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส รับรู้ทางใจ อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส
- ความไม่พอใจ ขัดใจ ความขัดเคืองใจ ความขุ่นข้องหมองใจ ความกระทบกระทั่งในใจ อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส

- การใช้รูปหรือรูปธรรม อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส รูปในที่นี้หมายถึงรูปที่ไม่เป็นไปในทางพื้นฐานเลย
- การใช้อรูปหรือนามธรรม อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส
- ตัวตนอย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส ความรู้สึกที่เป็นไปในตนเอง คุณสมบัติของตน แข่ง เปรียบเทียบ อย่างเป็นอธรรม เป็นวิชาที่ผิดที่ไม่ดี หรือเป็นกิเลส
- ขาดสติ ขาดสัมปชัญญะ ขาดสมาธิ ความกระเพื่อมฟุ้งของจิต อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส
- การใช้ธรรม อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส
- การเรียงผิด ผิดเนื้อนาม ผิดลำดับจากหลักวิชาหรือกฎของธรรมชาติ
- การใช้ขันธ์ อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส คือ ใช้รูปขันธ์ เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส
- ขาดความถูกต้อง ขาดธรรมะ ขาดธรรมฝ่ายดีงาม ขาดวิชา ขาดทางสายกลาง ความผิด แก้ปัญหาด้วยความผิด
- ความไม่มีวิชา มีหรือใช้ทักษะ วิชา อย่างเป็นกิเลส ทักษะที่ผิดที่ไม่ดี วิชาที่ผิดที่ไม่ดี

การปฏิบัติเกี่ยวกับอธรรม อวิชา กิเลส

การปฏิบัติเกี่ยวกับอธรรม อวิชา กิเลส ควรกระทำอย่างเป็นทางสายกลาง คือ
- การไม่ยอมทำตาม หรือมีใจไม่ยอมอยู่ใต้อำนาจอธรรม ความผิดความไม่ดี อวิชา กิเลส
- การไม่พึงพอใจ ไม่ปรารถนาในอธรรม อวิชา กิเลส
- การไม่เข้าหา ยึด ติด พึ่ง พึ่งพา ใช้อธรรม อวิชา กิเลส
- การฝืน อดทนอดกลั้นต่ออธรรม กิเลส การบีบบังคับของกิเลส แนวลบอย่างเป็นอธรรม
- การเว้นอธรรม อวิชา กิเลส

อวิชา คือ ความไม่มีวิชา วิชาที่ผิดที่ไม่ดี

"เมื่อเราเกิดอธรรม หรือเกิดกิเลส เราสามารถวางเฉยต่ออธรรม กิเลสนั้นๆ ไปเรื่อยๆ ด้วยวิชา พยายามตัด ถอนอธรรม กิเลสนั้นๆ ไปทีละน้อยด้วยวิชา แล้วไม่ปฏิบัติอธรรม กิเลสนั้นๆ"
"เมื่อเราเกิดอธรรม หรือเกิดกิเลส เราสามารถวางเฉยต่ออธรรม กิเลสนั้นๆ ไปเรื่อยๆ ด้วยวิชา ให้เพียงพอ พยายามตัด ถอนอธรรม กิเลสนั้นๆ ไปเรื่อยๆ ด้วยวิชา จนหมด"
"หากเราถูกผู้อื่นเบียดเบียนด้วยอธรรม กิเลส เราสามารถวางเฉยด้วยวิชา แล้วแก้ปัญหาโดยธรรมะ วิชา"

วันศุกร์ที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2566

ธรรมประจำใจ

ธรรมประจำใจ ๒ ข้อ คือ
- ไม่เป็นอธรรม ไม่มีอธรรม
- ไม่เป็นกิเลส ไม่มีกิเลส

ธรรมประจำใจ คือ
- เมตตา คือ ปรารถนา คิด ปฏิบัติให้ตนเองหรือผู้อื่นถูก ดี ได้ดี มีความสุข อย่างเป็นกลาง เป็นธรรม
- กรุณา คือ ปรารถนา คิด ปฏิบัติให้ตนเองหรือผู้อื่นไม่ผิด ไม่ชั่ว ไม่ได้ไม่ดี ไม่ทุกข์ อย่างเป็นกลาง เป็นธรรม
- มุทิตา คือ พลอยยินดีเมื่อเขาอยู่ดีมีสุข ได้ดีมีสุข
- อุเบกขา คือ การรู้จักวางเฉย รู้จักปล่อยวาง การรู้จักวางใจเป็นกลาง
- ไม่เป็นอธรรม ไม่เบียดเบียน
- ไม่เป็นกิเลส

ธรรมะหลัก

ธรรมะหลัก
- ความถูก ธรรมะ ความว่าง ทางสายกลาง
- ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม
- วิชา
- ความไม่เป็นกิเลส

ธรรมะหลัก ๔ เป็นธรรมที่ทำให้ถูก ดี ได้ดี ไม่ได้ไม่ดี มีความสุขอย่างถูกต้อง ไม่ทุกข์ได้
ธรรมะหลัก ๔ เป็นธรรมที่ทำให้เป็นอิสระได้
ธรรมะหลัก ๔ เป็นทางเจริญ รุ่งเรือง
ธรรมะหลัก ๔ เป็นธรรมที่ทำให้ชนะ
ธรรมะหลัก ๔ เป็นธรรมที่ทำให้สงบสุข เรียบร้อยได้
ธรรมะหลัก ๔ เป็นสิ่งที่คุ้มครองผู้ปฏิบัติได้
ควรเก็บธรรมะหลัก ๔ เอาไว้ในใจ เพื่อนำไปปฏิบัติ จะทำให้ดีขึ้นได้
ไม่เป็นแนวติดลบ เป็นแนวศูนย์ หรือเป็นแนวติดบวก ได้โดยธรรมะหลัก ๔

ธรรมะหลัก ธรรมฝ่ายดีงาม เป็นบารมีที่ถูกที่ดี
ธรรมะหลัก ๔ ธรรมฝ่ายดีงาม เป็นธรรมที่ทำให้มีแรง มีพลัง มีกำลังเพียงพอ

วันอังคารที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2566

สิ่งที่สำคัญในการไม่เบียดเบียน

"สิ่งที่สำคัญในการไม่เบียดเบียน คือการไม่คด หรือมีความตรง"
"สิ่งที่สำคัญในการไม่เบียดเบียน คือการไม่ลำเอียง หรือมีความเป็นกลาง"
"สิ่งที่สำคัญในการไม่เบียดเบียน คือการไม่เอาเปรียบ หรือมีความเป็นธรรม"
"ควรปฏิบัติการไม่คดต่อทุกคน รวมถึงตนเองด้วย"
"ควรปฏิบัติการไม่ลำเอียงต่อทุกคน รวมถึงตนเองด้วย"
"ควรปฏิบัติการไม่เอาเปรียบต่อทุกคน รวมถึงตนเองด้วย"

สิ่งที่ทำให้มีความสุข

สิ่งที่ทำให้มีความสุข คือ
- ธรรมะ ธรรมฝ่ายดี
- ความไม่เป็นกิเลส
- การรู้คุณแทนคุณ

วันจันทร์ที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2566

การทำงาน

"ทำงานเพื่อผู้อื่นหรือตนเอง ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความปรารถนาดี ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความจริงใจ วิชา ความเพียร ความไม่เบียดเบียน ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ทำงานเพื่อผู้อื่นหรือตนเอง ด้วยการรู้จักวางเฉย วางใจเป็นกลาง รู้จักปล่อยวาง รู้จักออกจาก รู้จักพัก อย่างถูกต้อง"

วันจันทร์ที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2566

ความหดหู่

"ความหดหู่ เกิดจากการพลาดหวัง ผิดพลาด ล้มเหลว อย่างเป็นกิเลส"
"แก้ไขความหดหู่ได้โดยการพัก การวางเฉย วางใจเป็นกลาง ปล่อยวาง การออกจาก แล้วตั้งหลัก คิดหาวิธีใหม่ด้วยวิชา ทางสายกลาง"

วันเสาร์ที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2566

ความอาลัย ความเศร้าหมอง ไม่เสียดาย ไม่ปฏิบัติความโลภ ความโกรธ ความหลง

ความอาลัย ความเศร้าหมอง
"ควรไม่ปฏิบัติ ควรตัด ควรถอนความอาลัย ความเศร้าหมอง อย่างเป็นทางสายกลาง"
"ความอาลัย ความเศร้าหมอง เกิดจากความเสียดายอย่างเป็นกิเลส"
"ความอาลัย ความเศร้าหมอง จะเป็นอุปสรรคต่อความสำเร็จในทางที่ถูกที่ดี"
"การตัด ถอนความอาลัย ความเศร้าหมอง จะทำให้จิตเบิกบาน"
"การตัด ถอนความอาลัย ความเศร้าหมอง จะทำให้ไม่ทุกข์ใจ ไม่หนักใจ แก้ปัญหาได้"

ไม่เสียดาย
"ทำให้ดีที่สุด ไม่ควรเสียดายอย่างเป็นกิเลส"

ไม่ปฏิบัติความโลภ ความโกรธ ความหลง
"ควรไม่ปฏิบัติ ควรตัด ควรถอนความโลภ ความโกรธ ความหลง อย่างเป็นทางสายกลาง"
"การไม่ปฏิบัติ ตัด ถอนความโลภ ความโกรธ ความหลง จะทำให้จิตเบิกบาน"
"การไม่ปฏิบัติ ตัด ถอนความโลภ ความโกรธ ความหลง จะทำให้ไม่ทุกข์ใจ ไม่เศร้าหมอง"

วันพุธที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2566

การนำทาง

"ให้ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความดีงาม วิชา ความเพียร ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง นำทางให้เรา"
"ไม่ให้ความโลภนำทางให้เรา"
"ไม่ให้อธรรมนำทางให้เรา"
"ไม่ให้กิเลสนำทางให้เรา"

ย่อ
"ให้ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง นำทางให้เรา"

วันอังคารที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2566

สดใส ร่าเริง เบิกบาน

"สดใส ร่าเริง เบิกบาน ไม่หดหู่ ไม่ซึมเศร้า ไม่เศร้าหมอง ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นอธรรม ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันจันทร์ที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2566

สิ่งไม่ควรปฏิบัติ ควรตัด ควรถอน ๑๗ ข้อ

การไม่ปฏิบัติ ตัด ถอนสิ่งเหล่านี้ ทำให้ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลสได้ ทำให้สงบสุข เรียบร้อยได้
สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งไม่ควรปฏิบัติ ควรตัด ควรถอน อย่างเป็นทางสายกลาง
- กาย อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส
- ความลังเลในธรรมะหรือความถูกความดี ความเห็นผิด
- การกระทำผิดจากเป้าหมายที่แท้จริงที่ถูกที่ดี การมีความสุขในทางที่ผิดที่ไม่ดีหรือเป็นกิเลส

- การใช้พื้นฐาน ทางรูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส รับรู้ทางใจ อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส
- ความไม่พอใจ ขัดใจ ความขัดเคืองใจ ความขุ่นข้องหมองใจ ความกระทบกระทั่งในใจ อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส

- การใช้รูปหรือรูปธรรม อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส รูปในที่นี้หมายถึงรูปที่ไม่เป็นไปในทางพื้นฐานเลย
- การใช้อรูปหรือนามธรรม อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส
- ตัวตนอย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส ความรู้สึกที่เป็นไปในตนเอง คุณสมบัติของตน แข่ง เปรียบเทียบ อย่างเป็นอธรรม เป็นวิชาที่ผิดที่ไม่ดี หรือเป็นกิเลส
- ขาดสติ ขาดสัมปชัญญะ ขาดสมาธิ ความกระเพื่อมฟุ้งของจิต อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส
- การใช้ธรรม อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส
- ความไม่มีวิชา มีหรือใช้ทักษะ วิชา อย่างเป็นกิเลส ทักษะที่ผิดที่ไม่ดี วิชาที่ผิดที่ไม่ดี
- การใช้ขันธ์ อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส คือ ใช้รูปขันธ์ เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส
- ขาดความถูกต้อง ขาดธรรมะ ขาดธรรมฝ่ายดีงาม ขาดวิชา ขาดทางสายกลาง
- อธรรม อธรรมความโลภมี สะสมอธรรมหรือกิเลส บารมีที่ผิดที่ไม่ดี ทุจริต ความไม่เป็นกลาง ความไม่เป็นธรรม การทำให้คลาดเคลื่อน การทำให้ผิดพลาด การทำให้ผิด การบังคับอย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส การเจาะระบบอย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส การถูกเจาะระบบอย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส การรับสิ่งตอบแทนจากการปฏิบัติอธรรมหรือกิเลส การพนัน อบาย
- ความอาลัย เศร้าหมอง ความเสียดายอย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส ความหดหู่ ความพลาดหวัง ผิดพลาด ล้มเหลวอย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส
- ความสำเร็จ ความสมหวัง อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส
- กิเลส ความผิด แก้ปัญหาด้วยความผิด

อธรรมหลัก

อธรรมหลัก คือ
- ความผิด อธรรม ความไม่ใช่ทางสายกลาง ความหย่อนเกินหรือตึงเกิน
- ธรรมฝ่ายชั่วร้าย ความชั่วร้าย
- ความไม่มีวิชา วิชาที่ผิดที่ไม่ดี
- กิเลส

สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่ไม่ควรปฏิบัติ อย่างเป็นทางสายกลาง

ตัดอธรรมให้ขาด

ตัดอธรรมให้ขาด
"ควรเอาชนะใจตนเอง แล้วตัดอธรรมให้ขาด"
"การตัดอธรรมทั้งหมดให้ขาดแล้ว จะเป็นจุดเริ่มต้นของเรา"
"การตัดอธรรมทั้งหมดให้ขาดแล้ว จะเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีของเรา"
"การตัดอธรรมทั้งหมดให้ขาด แล้วกระทำความถูกความดี มีอิสระ จะทำให้มีความสุขมาก"

วันอาทิตย์ที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2566

แก้ปัญหาเป็นทุกข์เนื่องจากการทำดี

ในการพยายามทำดี หรือการทำดี แล้วเป็นทุกข์ สามารถแก้ไขได้โดย
- การฝึกฝน ปฏิบัติความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง
- มีความใฝ่ดี มีความปรารถนาดี
- มีความตั้งมั่น เพียร พยายาม อดทน ในการทำดี
- มีสติ มีสมาธิ
- การฝึกให้มีเหตุผล มีเหตุผล รู้เหตุ รู้ผล
- มีความเป็นกลาง มีความเป็นธรรม
- การทำดี ด้วยความเหมาะสม พอเหมาะ
- การรู้จักวางเฉย วางใจเป็นกลาง ปล่อยวาง รู้จักออกจาก

วันเสาร์ที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2566

สิ่งสำคัญ การปฏิบัติธรรมฝ่ายดีงาม ช่วยเหลือตนเองหรือผู้อื่น

สิ่งสำคัญ
"การไม่เบียดเบียน ความไม่เป็นกิเลสเป็นสิ่งสำคัญ
การไม่เบียดเบียนนี้รวมไปถึงการไม่เบียดเบียนทั้งผู้อื่นและตนเอง
ความไม่เป็นกิเลสจะทำให้เราไม่ไปปฏิบัติอธรรม ไม่เบียดเบียน กระทำความถูกความดี ไม่ทุกข์ และมีความสุขได้"

การปฏิบัติธรรมฝ่ายดีงาม
"การปฏิบัติธรรมฝ่ายดีงามอย่างเป็นวิชา ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง จะทำให้เราอยู่ได้อย่างถูกต้อง มีคุณประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่น มีความสุข อยู่ในแนวบวกได้ สร้างสรรค์ได้"

ช่วยเหลือตนเองหรือผู้อื่น
"ช่วยตนเองหรือผู้อื่นด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันพฤหัสบดีที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2566

กฎ

"ไม่ควรเอาชนะกฎของธรรมชาติ ไม่ควรเอาชนะกฎของการกระทำ"
"ไม่ควรฝืนกฎของธรรมชาติ ไม่ควรฝืนกฎของการกระทำ"

วันจันทร์ที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2566

เป้าหมายของการทำ สะสมความซื่อสัตย์ สุจริต

เป้าหมายของการทำ
"ควรรู้ว่าทำสิ่งไหนที่ทำให้มีความถูกต้อง มีความสุข
ทำสิ่งไหนที่ทำให้มีความผิด มีความทุกข์"
"ทำในสิ่งที่ทำให้มีความถูกต้อง มีความสุข
ไม่ทำในสิ่งที่ทำให้มีความผิด มีความทุกข์"

"ควรคิดให้รู้ว่าทำอย่างไรทำให้ไม่มีปัญหา ไม่เกิดปัญหา แก้ปัญหาได้
ทำอย่างไรทำให้มีปัญหา เกิดปัญหา แก้ปัญหาไม่ได้"
"ทำในสิ่งที่ทำให้ไม่มีปัญหา ไม่เกิดปัญหา แก้ปัญหาได้
ไม่ทำในสิ่งที่ทำให้มีปัญหา เกิดปัญหา แก้ปัญหาไม่ได้"

สะสมความซื่อสัตย์ สุจริต
"ควรสะสมความซื่อสัตย์ สุจริตอย่างถูกหลักวิชา เอาไว้ให้เพียงพอในการใช้"

วันอาทิตย์ที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2566

การสำเร็จความรู้สึก

"สามารถสำเร็จความรู้สึกในพื้นฐาน รูปหรือรูปธรรม อรูปหรือนามธรรม ธรรม อย่างเป็นธรรมะ เป็นธรรมฝ่ายดีงาม เป็นวิชา ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง ได้"

วันเสาร์ที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2566

ความคด ความตรง

"ความคด จะเพิ่มให้ความผิด
ความตรง จะเพิ่มให้ความถูกต้อง"
"ไม่ควรอยู่ แก้ปัญหาด้วยความคด
ควรอยู่ แก้ปัญหาด้วยความตรงที่เป็นแนวบวก ความไม่คดไม่ตรงที่เป็นแนวกลาง และแนวลบ อย่างเป็นวิชา ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส"
"การก้าวไปข้างหน้าด้วยความตรงที่เป็นแนวบวก จะต้องก้าวควบคู่ไปกับความไม่คดไม่ตรงที่เป็นแนวกลาง และแนวลบ อย่างเป็นวิชา ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส"
"ความตรง คือ ตรง ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ตรง ซื่อสัตย์ต่อผู้อื่น ด้วยความถูก ธรรมฝ่ายดีงาม วิชา ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ทางสายกลาง"
"ควรใช้ความถูกต้อง ธรรมฝ่ายดีงาม ความตรงที่เป็นแนวบวก ความไม่คดไม่ตรงที่เป็นแนวกลาง แนวลบอย่างไม่เป็นอธรรมไม่เป็นกิเลส วิชา ความเหมาะสม ทางสายกลาง ควบคู่ไปกับความอิสระ"
ย่อ
"ควรใช้ความตรง ควบคู่ไปกับความอิสระ"

ปฏิบัติธรรมะ ไม่ปฏิบัติอธรรมทั้งทางรูปหรือทางนาม หลักปฏิบัติที่ดี

ปฏิบัติธรรมะทั้งทางรูปหรือทางนาม
"ปฏิบัติความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง ทั้งทางรูปหรือทางนาม"

ไม่ปฏิบัติอธรรมทั้งทางรูปหรือทางนาม
"ไม่ปฏิบัติความผิด อธรรม ธรรมฝ่ายไม่ดี ความไม่ดี วิชาที่ผิดที่ไม่ดี ความไม่ใช่ทางสายกลาง ทั้งทางรูปหรือทางนาม"

หลักปฏิบัติที่ดี
"หลักปฏิบัติที่ดี คือ
ไม่คด ไม่โกง ไม่ลำเอียง ไม่เอาเปรียบ ไม่เห็นแก่ตัว ไม่เบียดเบียน ทั้งทางรูปหรือทางนาม
ตรง ซื่อสัตย์ ซื่อตรง มีวิชา เพียร สุจริต อดทน เป็นกลาง เป็นธรรม รู้จักให้รู้จักรับ รู้คุณแทนคุณ จริงใจ ทั้งทางรูปหรือทางนาม"

ย่อ
"หลักปฏิบัติที่ดี คือ
ไม่คด ไม่โกง ทั้งทางรูปหรือทางนาม
ตรง ซื่อสัตย์ ซื่อตรง สุจริต ทั้งทางรูปหรือทางนาม"

วันพฤหัสบดีที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2566

การมีอิสระ

"มีอิสระโดยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง ทั้งทางรูปหรือทางนาม"
"มีอิสระโดยไม่คด ไม่โกง ไม่ลำเอียง ไม่เอาเปรียบ ไม่เห็นแก่ตัว ไม่เบียดเบียน ทั้งทางรูปหรือทางนาม"
"มีอิสระโดยความตรง ซื่อสัตย์ ซื่อตรง สุจริต เป็นกลาง เป็นธรรม จริงใจ ทั้งทางรูปหรือทางนาม"

ย่อ
"มีอิสระโดยไม่คด ไม่โกง ทั้งทางรูปหรือทางนาม
มีอิสระโดยความตรง ซื่อสัตย์ ซื่อตรง สุจริต ทั้งทางรูปหรือทางนาม"

วันพุธที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2566

ไม่ได้เปล่า อธรรมหลอก

ไม่ได้เปล่า
"มองทุกสิ่งตามจริง ว่าเป็นสิ่งที่ไม่ได้เปล่า"
"ทุกสิ่ง ไม่ได้เปล่า จะต้องใช้สมบัติรูป สมบัตินามในการหา เรียง ทำ สร้าง อย่างถูกหลักธรรม ถูกหลักวิชา ถูกกฎของธรรมชาติ"

อธรรมหลอก
"อธรรมจะหลอกว่าทำให้มี อยู่ได้ มีความสุข แต่ความจริงอธรรมจะทำให้ไม่มี อยู่ไม่ได้ มีความทุกข์"

วันจันทร์ที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2566

ใช้ในการอยู่ สรุปสิ่งไม่ควรปฏิบัติ ควรตัด ควรถอน

ใช้ในการอยู่
"ใช้ธรรมะ วิชาในการอยู่ ไม่ใช้อธรรม วิชาที่ผิดที่ไม่ดีในการอยู่"
"ควรให้มีธรรมะ วิชาอยู่ในทุกที่"
"ความมีอย่างถูกต้อง ได้จากการทำถูกทำดี ใช้วิชา"

สรุปสิ่งไม่ควรปฏิบัติ ควรตัด ควรถอน
สรุปสิ่งไม่ควรปฏิบัติ ควรตัด ควรถอน อย่างเป็นทางสายกลาง คือ
- โลภ ติด ติดใจ อย่างเป็นกิเลส
- ไม่อยาก ไม่พอใจ อย่างเป็นกิเลส
- ความหลง มัวเมา ขาดสติ ขาดสัมปชัญญะ
- ใช้วิชาที่ผิดหรือไม่ดี
- อธรรม
- ความอาลัย เศร้าหมอง

สรุปสิ่งไม่ควรปฏิบัติ
"สิ่งไม่ควรปฏิบัติ คือ
ความอยาก ความอยากได้ ความอยากมี ความอยากใช้ ความอยากทำ ความอยากเป็น อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส
ความไม่อยาก ความไม่อยากได้ ความไม่อยากมี ความไม่อยากใช้ ความไม่อยากทำ ความไม่อยากเป็น อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส
การแย่ง แบบผิด เป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส"

วันเสาร์ที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2566

ไม่เห็นแก่ตัว ไม่ประพฤติผิด ไม่หลง ไม่มัวเมา

ไม่เห็นแก่ตัว ไม่ประพฤติผิด
"ไม่เห็นแก่ตัว ไม่ประพฤติผิดได้โดยการไม่แย่งรูป นามอย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส"

ไม่หลง ไม่มัวเมา
- ระวังใจไม่ให้หลงในอารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งความหลง
- ระวังใจไม่ให้มัวเมาในอารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งความมัวเมา

วันศุกร์ที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2566

ธรรมมีอุปการะมาก ๒ ทุจริต ๓ สุจริต ๓

ธรรมมีอุปการะมาก ๒ อย่าง
๑. สติ ความระลึกได้
๒. สัมปชัญญะ ความรู้ตัว

ทุจริต ๓ อย่าง
๑. ประพฤติชั่วด้วยกาย เรียก กายทุจริต
๒. ประพฤติชั่วด้วยวาจา เรียก วจีทุจริต
๓. ประพฤติชั่วด้วยใจ เรียก มโนทุจริต

สุจริต ๓ อย่าง
๑. ประพฤติชอบด้วยกาย เรียก กายสุจริต
๒. ประพฤติชอบด้วยวาจา เรียก วจีสุจริต
๓. ประพฤติชอบด้วยใจ เรียก มโนสุจริต

มีสติ สัมปชัญญะ เว้นทุจริต ๓ ปฏิบัติสุจริต ๓

วันพฤหัสบดีที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2566

เจริญ ก้าวหน้า

"เจริญ เจริญในทางจิตใจ ก้าวหน้าได้โดยการปฏิบัติธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ควบคู่ไปกับวิชา"

วันพุธที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2566

วันจันทร์ที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2566

ทำให้ไม่มีแรงใจในการทำผิด ทำให้มีแรงใจในการทำถูก

"ควรทำให้ตนเองหรือผู้อื่นไม่มีแรงใจ ไม่มีพลังใจในการทำผิดทำไม่ดี"
"ควรทำให้ตนเองหรือผู้อื่นมีแรงใจ มีพลังใจในการทำถูกทำดี"

การปรารถนาในความมี ความไม่มี

"การปรารถนาในความมีหรือความไม่มี อาจจะทำให้เกิดอธรรม เกิดกิเลส"
"สามารถปรารถนาในความเป็นกลาง คือปรารถนาในความมีก็ไม่ใช่ ปรารถนาในความไม่มีก็ไม่ใช่ บ้าง"

วันเสาร์ที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2566

การแก้ปัญหาและสลัดคืน

"เมื่อเกิดปัญหาหรือความทุกข์ หากเราแก้ปัญหายังไม่สำเร็จ สามารถสลัดคืนบางส่วนกลับไปยังจุดที่กำเนิดของปัญหา เพื่อผ่อนคลายปัญหาหรือความทุกข์นั้นๆ ได้"
"เมื่อเกิดปัญหาหรือความทุกข์ เราสามารถแก้ปัญหาอย่างถูกต้องให้สำเร็จ แล้วสลัดคืนกลับไปยังจุดที่กำเนิดของปัญหา เพื่อให้สิ้นสุดปัญหาอย่างสมบูรณ์"

วันพฤหัสบดีที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2566

แก้ปัญหาไม่รับรู้ คิดไม่ออก ไม่รอบคอบ ไม่ถี่ถ้วน

"แก้ปัญหาไม่รับรู้ คิดไม่ออก ไม่รอบคอบ ไม่ถี่ถ้วน โดยความถูก การมีความเพียร มีและใช้วิชา รู้และใช้ลำดับอย่างถูกต้อง มีสติ มีสมาธิ มีความยั้งคิด มีความยับยั้งชั่งใจ ไม่ประมาท มีเหตุผล รู้จักให้รู้จักรับ รู้คุณแทนคุณ มีความรับผิดชอบ ยอมรับความจริง มีความจริงใจ มีความเป็นกลาง มีความเป็นธรรม มีความตรง ปฏิบัติทางสายกลาง ไม่ยึดติด ไม่ยึดมั่นถือมั่น รู้จักวางเฉย รู้จักออกจาก ไม่ลำเอียง ไม่เอาเปรียบ ไม่เบียดเบียน ความไม่เป็นกิเลส"

แก้ปัญหาอธรรม

"แก้ปัญหาอธรรม การทำผิดทำไม่ดี ความทุกข์ ความทรมาน ด้วยความถูก ธรรมะ ความไม่เป็นกิเลส"

"แก้ปัญหาการคิดเล็กคิดน้อย โดยความถูก การมีและใช้วิชา มีเหตุผล ไม่ยึดติด ไม่ยึดมั่นถือมั่น ไม่ลำเอียง ไม่เอาเปรียบ ความไม่เป็นกิเลส"

"แก้ปัญหาการขาดสติ ความหลง ความหลงผิด การยึดติด ยึดมั่นถือมั่น โดยความถูก การรู้ในธรรม มีและใช้วิชา มีสติ มีสมาธิ มีความยั้งคิด มีความยับยั้งชั่งใจ มีเหตุผล รู้จักให้รู้จักรับ รู้คุณแทนคุณ มีความรับผิดชอบ ยอมรับความจริง มีความจริงใจ มีความเป็นกลาง มีความเป็นธรรม มีความตรง ปฏิบัติทางสายกลาง ไม่ยึดติด ไม่ยึดมั่นถือมั่น รู้จักวางเฉย รู้จักออกจาก ไม่ลำเอียง ไม่เอาเปรียบ ไม่เบียดเบียน ความไม่เป็นกิเลส"

"แก้ปัญหาการลำเอียง การเอาเปรียบ โดยความถูก การมีความเพียร มีและใช้วิชา มีเหตุผล มีความเป็นกลาง มีความเป็นธรรม มีความตรง มีความจริงใจ ไม่เบียดเบียน ความไม่เป็นกิเลส"

"แก้ปัญหาความคด ความเห็นแก่ตัว ไม่จริงใจ มักง่าย โดยความถูก การมีความเพียร มีและใช้วิชา รู้จักให้รู้จักรับ รู้คุณแทนคุณ มีความรับผิดชอบ มีเหตุผล มีความเป็นกลาง มีความเป็นธรรม มีความตรง อยู่กับความจริง มีความจริงใจ ปฏิบัติทางสายกลาง ไม่เบียดเบียน ความไม่เป็นกิเลส"

"แก้ปัญหาการมองในแง่ร้าย การจ้องจับผิดอย่างเป็นอธรรม โดยความถูก การมีความเพียร มีและใช้วิชา รู้จักให้รู้จักรับ รู้คุณแทนคุณ มีความรับผิดชอบ มีเหตุผล มีความเป็นกลาง มีความเป็นธรรม มีความตรง อยู่กับความจริง มีความจริงใจ ปฏิบัติทางสายกลาง ไม่เบียดเบียน ความไม่เป็นกิเลส"

วันพุธที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2566

สมดุลธรรมชาติของขันธ์

"ขันธ์ของเราที่สมดุลธรรมชาติจะชนะครึ่งหนึ่ง แพ้ครึ่งหนึ่ง"

"ควรมองให้ออกว่าในปัจจุบันหากขันธ์ของเราสมดุลตามธรรมชาติแล้ว เราจะเป็นอย่างไร"
"ควรให้เมื่อขันธ์ของเราสมดุลตามธรรมชาติแล้ว ถูกต้องหรือดีอยู่"
"ควรให้เมื่อขันธ์ของเราสมดุลตามธรรมชาติแล้ว ไม่ทุกข์ไม่ทรมานเลย"

ไม่ยอมอธรรม

"ไม่ควรยอมอธรรม"
"ไม่ควรยอมอธรรมความโลภมี"
"การไม่ยอมอธรรม จะทำให้ถูกต้องดีได้ มองเห็นธรรม ไม่หลงผิด ไม่ทุกข์ ไม่เดือดร้อนในภายหลัง"

วันอังคารที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2566

หลักธรรมความสมดุลธรรมชาติ

"ธรรมชาติจะรักษาสมดุลเอาไว้ ทุกสิ่งจะเป็นไปตามหลักสมดุลของธรรมชาติ"
"การปฏิบัติธรรมะ การปฏิบัติความถูกความดี การปฏิบัติทางสายกลาง เมื่อเป็นไปตามหลักสมดุลธรรมชาติ ก็จะมีความสุขจากการปฏิบัติกรรมดีนั้นๆ จนหมดบุญ"
"การปฏิบัติหย่อนเกินหรือตึงเกิน การปฏิบัติอธรรม การเอาเปรียบ จะทำให้ไม่สมดุลธรรมชาติ จะต้องมาชดใช้กรรมชดใช้หนี้ภายหลัง เพื่อให้สมดุลธรรมชาติ"

วิชา

วิชา คือ ความรู้ หลักปฏิบัติ แบบแผนการปฏิบัติที่ถูกที่ดี ถูกหลักธรรม ถูกกฎของธรรมชาติ
ทักษะ คือ ความชำนาญ, ความเชี่ยวชาญ

"ควรคิด พัฒนา ปรับปรุง เก็บ บันทึก ใช้วิชาที่ถูกที่ดี"
"ควรฝึกทักษะ วิชาที่ถูกที่ดี"
"วิชา เกิดจากการไม่เบียดเบียน"
"การมี ใช้ทักษะ วิชา อย่างถูกต้อง จะทำให้ถูก ดี ได้ดี มีความสุข เป็นประโยชน์ ได้"

"วิชา คือ แบบแผนการปฏิบัติเพื่อแบ่งให้รูป นามส่วนต่างๆ เพื่อให้รูป นามตอบแทนให้ใช้ แบ่งให้ผู้อื่น รวมถึงตนเองผู้ใช้วิชา อย่างถูกหลักธรรม เป็นกลาง เป็นธรรม ถูกต้องตามกฎของธรรมชาติ"
"วิชา จะทำให้ผลลัพธ์เป็นการเรียงถูกเนื้อนาม ถูกลำดับ"
"การใช้วิชา อย่างถูกต้อง จะทำให้เกิดประโยชน์"
"การใช้วิชา ผู้ใช้วิชาไม่ควรรับเกินส่วนของตนเองตามแบบแผนวิชานั้นๆ"
"การใช้วิชา ไม่ควรใช้อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส"
"การกระทำด้วยวิชา คือ กระทำโดยการให้ ครบทั้งรูป นาม ตนเอง ผู้อื่น เท่ากันหรือผลัดกันเป็นงานหลัก งานรอง งานเบื้องหลัง อย่างถูกหลักธรรม เป็นกลาง เป็นธรรม ถูกต้องตามกฎของธรรมชาติ และสามารถพักได้"

"คิด หา ฝึก มี ใช้วิชาด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความปรารถนาดี การรู้จักให้รู้จักรับ การรู้คุณแทนคุณ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความตรง ความถูกกฎของธรรมชาติ ความไม่เบียดเบียน การไม่ยึดติด ไม่ยึดมั่นถือมั่น การรู้จักวางเฉย การรู้จักออกจาก ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

ย่อ
"คิด หา ฝึก มี ใช้วิชาด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความถูกกฎของธรรมชาติ ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันศุกร์ที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2566

สิ่งที่ควรมีในการอยู่

สิ่งที่ควรมีในการอยู่
การอยู่ ควรมีสิ่งเหล่านี้
๑. มีอัตราการรับรู้เพียงพอ
๒. ปฏิบัติธรรมะที่ถูกต้อง มีการหา เรียง ทำ สร้างอย่างเพียงพอ
๓. มีอัตราการปล่อยความถูกความดีจากขันธ์อย่างเพียงพอ

วันพุธที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2566

สบายใจ

"สบายใจด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"สบายใจด้วยการปฏิบัติความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันจันทร์ที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2566

ของดี ของไม่ดี

"ควรรู้ว่าสิ่งไหนเป็นของดี สิ่งไหนเป็นของไม่ดี"
"ควรเลือกของดี ไม่ควรเลือกของไม่ดี"
"ของดี คือ ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ของไม่ดี คือ ความผิด อธรรม ธรรมฝ่ายไม่ดี ความไม่ดี วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส ความไม่ใช่ทางสายกลาง"

วันอาทิตย์ที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2566

ธรรมสำหรับควบคุมตนเอง

ธรรมสำหรับควบคุมตนเอง มีดังนี้
สติ คือ ความระลึกได้
ทมะ คือ การบังคับควบคุมตน, การข่มใจ, การฝึกตน
ขันติ คือ ความอดกลั้น, ความอดทน

วันเสาร์ที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2566

การได้ความพิจารณา ทักษะ วิชา

"ไม่ควรได้ความพิจารณา ทักษะ วิชา จากความผิดความไม่ดีหรือจากฝ่ายอกุศล"
"ควรได้ความพิจารณา ทักษะ วิชา จากความถูกต้องความดีหรือจากฝ่ายกุศล"

วันศุกร์ที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2566

อุดหนุน ส่งเสริม ดีต่อใจ

อุดหนุน ส่งเสริม
"อุดหนุน ส่งเสริมความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส"
"อุดหนุน ส่งเสริมสิ่งที่ถูกหลักธรรม ถูกหลักธรรมฝ่ายดีงาม ถูกหลักวิชา"
"อุดหนุน ส่งเสริมสิ่งที่ถูกที่ดี"
"อุดหนุนสิ่งที่ไม่เป็นอธรรม"
"อุดหนุนสิ่งที่ไม่เป็นกิเลส"
"เราอุดหนุนสิ่งแบบไหน สิ่งใกล้ตัวเราก็จะเป็นแบบนั้น"
"เราอุดหนุนสิ่งแบบไหน ก็จะน้อมนำให้เราเป็นแบบนั้นด้วย" 

ดีต่อใจ
"ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม เป็นสิ่งที่ดีต่อใจ"

วันพฤหัสบดีที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2566

มองกลาง มองบวก

"สามารถมองกลางต่อสิ่งต่างๆ ได้ ทั้งรูปหรือนาม สามารถมองบวกแทรกเข้าไปในการทำงานหรือการทำหน้าที่ได้ เพื่อให้งานสำเร็จเป็นผล"
"การมองกลางต่อสิ่งต่างๆ ทั้งรูปหรือนาม จะทำให้เบาใจ ไม่หนักใจ สบายใจ มีความเป็นกลาง"

ความสุขสูงสุด

"ความสุขสูงสุด คือความสุขจากความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"มองความสุขสูงสุด อย่างกลางๆ"
"สามารถมีความสุขสูงสุดอย่างพอประมาณได้"

วันพุธที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2566

ความสุขที่ควรมี

"ความสุขที่ควรมี คือความสุขจากความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"มองความสุข อย่างกลางๆ"
"สามารถมีความสุขอย่างพอประมาณได้"

การมี

มี ได้โดยการปฏิบัติ
๑. ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง
๒. การหา เรียง ทำ สร้าง
๓. ความอิสระ อย่างถูกต้อง

วันอังคารที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2566

โล่ง รับรู้ได้ จับได้ คิดออก ทำได้

"โล่ง รับรู้ได้ จับได้ คิดออก ทำได้ ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง ความไม่เป็นอธรรม"

มอง กระทำด้วยวิชา

"มองสิ่งต่างๆ ด้วยวิชา กระทำด้วยวิชา มองปัญหาด้วยวิชา แก้ปัญหาด้วยวิชา"

วิชา หมายถึง วิชาที่ถูกต้องที่ดี

สิ่งเสริมกัน

"ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง เป็นสิ่งเสริมกัน"
"ความผิด อธรรม ธรรมฝ่ายไม่ดี ความไม่ดี วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส ความไม่ใช่ทางสายกลาง การหย่อนเกินหรือตึงเกิน เป็นสิ่งเสริมกัน"

วันพุธที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2566

การทำให้เจริญ

"อุปสรรคต่อความสำเร็จหรือความเจริญ คือความคด ความโกง"
"ความคด ความโกงทำให้ทุกข์ใจ ไม่สบายใจ ทำให้จิตใจเศร้าหมอง
ความตรง ความซื่อสัตย์ ความสุจริตทำให้ไม่ทุกข์ใจ สบายใจ เบาใจ"
"การทำให้เจริญ เราควรขจัดความคด ความโกงให้หมดไปจากจิตใจของเราก่อน"
"การทำให้เจริญ ทำได้โดยการขจัดความคด ความโกงให้หมดไป ให้มีแต่ความตรง ความซื่อสัตย์ ความสุจริต สติปัญญา ความเพียรด้วยวิชา ความอดทน ความจริงใจ"
"ควรไม่คด ไม่โกงเลย ทั้งทางรูปหรือทางนาม"

วันจันทร์ที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2566

คุณงามความดี ทำให้เป็นผล

คุณงามความดี
"มองคนที่คุณงามความดี ไม่มองที่ทรัพย์สมบัติ"
"ควรกระทำคุณงามความดี"

ทำให้เป็นผล
"ทำความถูก ธรรมะ ทางสายกลาง ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ให้เป็นผล"
"ทำความตรง ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความจริง ความจริงใจ ให้เป็นผล"
ย่อ
"ทำธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ให้เป็นผล"
สรุป
"ทำให้อธรรม ธรรมฝ่ายไม่ดีเป็นโมฆะ ทำธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงามให้เป็นผล"

วันอาทิตย์ที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2566

โมฆะ

"ควรทำให้อธรรมเป็นโมฆะ ทำให้ธรรมะไม่เป็นโมฆะ"
"ควรทำให้อธรรมของเราเป็นโมฆะ ทำให้ธรรมะของเราไม่เป็นโมฆะ"
"ควรทำให้ความผิดเป็นโมฆะ ทำให้ความถูกไม่เป็นโมฆะ"
"ควรทำให้ธรรมฝ่ายไม่ดี ความไม่ดีเป็นโมฆะ ทำให้ธรรมฝ่ายดี ความดีไม่เป็นโมฆะ"
"ควรทำให้ความไม่จริงในธรรมชาติเป็นโมฆะ ทำให้ความจริงในธรรมชาติไม่เป็นโมฆะ"
"ควรทำให้ความไม่จริงเป็นโมฆะ ทำให้ความจริงไม่เป็นโมฆะ"
"ควรทำให้วิชาที่ผิดที่ไม่ดีเป็นโมฆะ ทำให้วิชาที่ถูกที่ดีไม่เป็นโมฆะ"
"ควรทำให้ความโลภ ความโกรธ ความหลงเป็นโมฆะ ทำให้ความไม่โลภ ความไม่โกรธ ความไม่หลงไม่เป็นโมฆะ"
"ควรทำให้กิเลสเป็นโมฆะ ทำให้ความไม่เป็นกิเลสไม่เป็นโมฆะ"

วันศุกร์ที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2566

การกระทำที่ควร นำพา

การกระทำที่ควร
"การกระทำที่ควร คือ คิดดี ทำดี พูดดี ตรง จริงใจ อยู่กับความเป็นจริง อดทน ทางสายกลาง"

นำพา
"นำพาด้วยความถูก ธรรมะ ความดี ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความเหมาะสม"
"ควรนำพาด้วยความถูก ธรรมะ ความดี ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความเหมาะสม ให้เป็นนิสัย"
"เราสามารถแทนคุณโดยการให้รูป นามตอบแทน หรือนำพาผู้มีคุณอย่างถูกต้องด้วยธรรมะ ความดี ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความเหมาะสมได้"
"หากเราแทนคุณให้ผู้มีคุณด้วยรูป นามไม่ได้ เราสามารถแทนคุณโดยการนำพาผู้มีคุณอย่างถูกต้องด้วยธรรมะ ความดี ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความเหมาะสมได้"

วันพุธที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2566

ไม่เป็นศัตรู

"ไม่ถือว่าผู้อื่นเป็นศัตรู ถึงแม้ว่าเขาจะไม่ใช่มิตร แต่ก็ไม่เป็นศัตรูด้วย"
"เราจะถือว่าอธรรม กิเลสเป็นศัตรู"

วันอังคารที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2566

ระบบ แบบแผน

"ควรมีระบบ แบบแผน อย่างถูกต้อง ถูกหลักธรรม ถูกหลักธรรมฝ่ายดีงาม ถูกหลักวิชา ถูกกฎของธรรมชาติ ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"
"การมีระบบ แบบแผน จะให้ธรรมชาติอนุญาต อนุมัติ อย่างถูกต้อง แล้วนำระบบ แบบแผนไปใช้"

วันจันทร์ที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2566

ธรรมชาติ กฎของธรรมชาติ

"ควรมองให้เห็นธรรมชาติที่แท้จริง"
"ให้ธรรมชาติอนุญาต อนุมัติ อย่างถูกต้อง"
"ควรพึ่งพาธรรมชาติฝ่ายที่ถูกที่ดี ไม่ควรพึ่งพาธรรมชาติฝ่ายที่ผิดที่ไม่ดี"
"ควรมองให้เห็นกฎของธรรมชาติ แล้วทำให้ถูกกฎของธรรมชาติทั้งหมด"
"ควรรับจากสิ่งที่ถูกกฎของธรรมชาติ"
"ควรมองให้เห็นกฎของธรรมชาติ แล้วคิดวิชาจากกฎของธรรมชาติ ใช้วิชาตามกฎของธรรมชาติ"
"ควรมองให้เห็นกฎของธรรมชาติ แล้วคิดธรรมะจากกฎของธรรมชาติ ใช้ธรรมะอย่างถูกกฎของธรรมชาติ"

วันพฤหัสบดีที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2566

เรียงธรรมะ วิชา

"เรียงธรรมะ วิชาอย่างถูกเนื้อนาม ถูกลำดับตามหลักวิชา ตามกฎของธรรมชาติ เพื่อนำไปเก็บหรือนำไปใช้"

อยู่ต่อ

"การอยู่ต่อจะต้องสอบความถูก ธรรมะ ความดี ความคิด การเลือก การตัดสินใจให้ผ่าน"
"การอยู่ต่อจะต้องสอบวิชาให้ผ่าน"
"เมื่อสอบการอยู่ต่อไม่ผ่าน จะต้องนำสมบัติรูป สมบัตินามมาใช้อย่างถูกหลักวิชาให้ธรรมชาติเพื่อกลับไปสอบแก้ตัว การสอบแก้ตัวจะมีขีดจำกัด"

วันอังคารที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2566

สิ่งที่ควรได้ พื้นฐานของวิชา

สิ่งที่ควรได้
"สิ่งที่ควรได้ คือ ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

พื้นฐานของวิชา
"ควรคิด ศึกษา ปฏิบัติธรรมะก่อน เพื่อให้เป็นพื้นฐานของการเรียนรู้ ฝึก ใช้วิชาต่างๆ"

เข้มงวด เคร่งครัด มีวินัย

"เข้มงวด เคร่งครัด มีวินัย ในความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"เข้มงวด เคร่งครัด มีวินัย ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันจันทร์ที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2566

สรุปความสุขที่แท้จริง

"ความสุขที่แท้จริง คือ ความสุขจากความถูกความดี"
"ความสุขที่แท้จริง คือ ความสุขจากความไม่เป็นอธรรม ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันพฤหัสบดีที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2566

ค้ำชู ส่งเสริม สนับสนุน

"ค้ำชู ส่งเสริม สนับสนุนด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันพุธที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2566

วันจันทร์ที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2566

การรับความสุข

"ควรรับความสุขจากความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง
ไม่ควรรับความสุขจากอธรรม วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส"
"ควรใช้ทางสายกลางในการไม่รับความสุขจากอธรรม วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส"
"ไม่ควรยึดติด อาลัยในความสุขที่มาจากอธรรม วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส"

วันอาทิตย์ที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2566

ตอบกลับ

การตอบกลับที่ควร คือ
"ตอบกลับด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเหมาะสม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม การรู้คุณแทนคุณ วิชา การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นอธรรม ความไม่เบียดเบียน ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันเสาร์ที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2566

หล่อเลี้ยงในการอยู่

"สิ่งที่หล่อเลี้ยงในการอยู่ คือ ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันศุกร์ที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2566

คิดดี ฐาน

คิดดี
"อยู่กับความเป็นจริง แล้วคิดดี แก้ปัญหาโดยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"อยู่กับความเป็นจริง แล้วแก้ปัญหาด้วยการคิดดี"
"การอยู่กับความเป็นจริง แล้วคิดดี จะทำให้สบายใจ"

ฐาน
"มีฐานเป็นความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันพฤหัสบดีที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2566

ความมี

"สามารถให้ความมี อย่างเป็นธรรมะ เป็นความถูกต้องความดี ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส เป็นเป้าหมาย เป็นเหตุ หรือเป็นผลได้"

การเลือก

การเลือกที่ควรทำอย่างเป็นทางสายกลาง
"เลือกความถูกต้องความดีเสมอ ไม่เลือกความผิดความไม่ดีเลย"
"เลือกความถูกต้องความดีล้วน ไม่เลือกความมีความอยู่ได้อย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลสเลย การปฏิบัติควรปฏิบัติอย่างเป็นทางสายกลาง"
"เลือกที่จะรู้คุณแทนคุณเสมอ ไม่เลือกที่จะได้เปล่าเลย"

วันอังคารที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2566

การหา

"ควรหาในทางที่ถูกที่ดี สุจริต มาเก็บหรือใช้ ไม่ควรหาในทางที่ผิดที่ไม่ดี ทุจริต มาเก็บหรือใช้"

หยุดอธรรม

"ควรหยุดอธรรมในตนเองให้สำเร็จ"
"ควรหยุดอธรรมให้สำเร็จ"
"ควรหยุดอธรรมความโลภมีให้สำเร็จ"
"หยุดอธรรมสำเร็จได้ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"หยุดอธรรมได้ด้วยความเป็นกลาง ความเป็นธรรม การรู้จักวางเฉย ความจริงใจต่อตนเอง ต่อผู้อื่น อย่างถูกต้อง"
"การหยุดอธรรมทำได้โดยการเลือกความถูกต้องความดีเป็นหลัก"
"การหยุดอธรรม อาจจะไม่สามารถหยุดที่ผู้อื่นได้ แต่เราพยายามหยุดที่ตนเองได้ ถ้าหลายๆ คน หรือทุกคน พยายามหยุดอธรรมที่ตนเองให้สำเร็จ จะดีขึ้นได้"

วันจันทร์ที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2566

ความจริงใจ

"มีความจริงใจต่อตนเองหรือผู้อื่น ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความตรง วิชา การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นอธรรม ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"จริงใจ คือ มอบทางเจริญให้ ไม่มอบทางเสื่อมให้"
"จริงใจ เพื่อความถูกต้องความดี ไม่จำเป็นจะต้องหวังผลตอบแทนให้ตนเอง"
ย่อ
"มีความจริงใจอย่างถูกต้อง เป็นกลาง เป็นธรรม ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"
หรือ
"มีความจริงใจอย่างเป็นกลาง เป็นธรรม"

การรู้ว่าเป็นโมฆะหรือไม่เป็นโมฆะ

"ควรรู้ว่าสิ่งใดเป็นโมฆะ สิ่งใดไม่เป็นโมฆะ"
"การกระทำความผิดความไม่ดีจะทำให้เป็นโมฆะ การกระทำความถูกความดีจะทำให้ไม่เป็นโมฆะ"

สรุปส่วนที่ดี

สรุปส่วนที่ดีที่ควรปฏิบัติ ทำให้เกิดผล อย่างเป็นทางสายกลาง คือ
- การรู้จักให้หรือรู้จักรับ อย่างถูกต้อง
- มีความเป็นกลาง
- มีความเป็นธรรม
- จริงใจ อย่างถูกต้อง

จริงใจ คือ จริงใจต่อตนเองหรือผู้อื่น อย่างถูกต้อง

วันอาทิตย์ที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2566

มีสติ รู้ตัว รับรู้ การถูกโจมตี

"ควรมีสติ รู้ตัว รับรู้ ว่าถูกความผิด อธรรม วิชาที่ผิดที่ไม่ดี หรือกิเลสอะไรโจมตีตามจริง อย่างเป็นทางสายกลาง แล้วแก้ปัญหาได้โดยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันพุธที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2566

การสละไม่รับ

"เราสามารถสละไม่รับได้ในทุกสิ่ง ทั้งรูปหรือนาม เพื่อให้ถูกต้อง ดีอยู่ได้ ไม่ผิด ไม่ไม่ดี"
"เราสามารถสละไม่รับสิ่งที่ได้เปล่า ทั้งรูปหรือนาม เพื่อให้ถูกต้อง ดีอยู่ได้ ไม่ผิด ไม่ไม่ดี"
"เราสามารถรับได้ หากถูกต้อง ดีแล้ว ไม่ผิด ไม่ไม่ดีแล้ว"
"สามารถหยุดความเร่งของความผิด อธรรม หรือกิเลส ได้โดยการสละไม่รับ อย่างถูกต้อง และตัดความผิด อธรรม กิเลสทั้งหมด"

วันอังคารที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2566

ธรรมประจำตัว

ธรรมที่ควรมีติดประจำตัว ปฏิบัติ และพึ่งพิง คือ
- ความถูก ธรรมะ ทางสายกลาง
- ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม
- วิชา
- ความไม่เป็นกิเลส

วันจันทร์ที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2566

สติ

"ควรมีสติเป็นความถูก โดยธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันอาทิตย์ที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2566

กำลังใจ

"ให้กำลังใจด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม การรู้คุณแทนคุณ ความตรง ความจริงใจ การทำถูกทำดี วิชา การรู้จักวางเฉย ความไม่เบียดเบียน ความไม่โลภ ความไม่หลง ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"สามารถให้กำลังใจตนเอง ผู้อื่น ผู้ที่ทำถูกทำดี หรือผู้ที่มีบุญคุณ อย่างถูกต้อง ด้วยทางสายกลางได้"

ปฏิบัติความถูกต้องความดี

"ควรมีหลักปฏิบัติเป็นความถูกต้องความดี ความไม่เป็นกิเลส ปฏิบัติไปตามทางความถูกต้องความดี ทางสายกลาง"
"ให้ความถูกต้องเป็นสติ"

วันเสาร์ที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2566

วันพฤหัสบดีที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2566

การใช้เนื้อขันธ์

"ควรจัดรูปแบบเนื้อขันธ์ จัดเนื้อขันธ์ โดยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เบียดเบียน ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"เนื้อขันธ์แบ่งเป็น ๒ ส่วน คือ ส่วนเบาหรือละเอียด ส่วนกลาง ตามลำดับ"
"เราควรใช้เนื้อขันธ์ทั้งส่วนเบาหรือละเอียด ส่วนกลาง ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"เราควรใช้เนื้อขันธ์ทั้งส่วนเบาหรือละเอียด ส่วนกลาง ในการตัดอธรรม ตัดวิชาที่ผิดที่ไม่ดี ตัดกิเลส ปฏิบัติธรรมะ ปฏิบัติธรรมฝ่ายดีงาม ใช้วิชา ด้วยทางสายกลาง"
"เราควรใช้เนื้อขันธ์ทั้งส่วนเบาหรือละเอียด ส่วนกลาง ในการกระทำต่างๆ ในทางที่ถูกที่ดีให้สำเร็จ หรือแก้ปัญหา ด้วยทางสายกลาง"

สิ่งที่ควรเอาชนะ

"สิ่งที่ควรเอาชนะอย่างเป็นทางสายกลาง คืออธรรม ความไม่รู้ วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส แล้วไม่ปฏิบัติสิ่งเหล่านี้"

วันจันทร์ที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566

ความสนใจ ความปรารถนา เป้าหมายที่ควร

"ความสนใจ ความปรารถนา เป้าหมายที่ควร เป็นความไม่มีกิเลส ความไม่มีอธรรม ความมีธรรมะ ความมีธรรมฝ่ายดีงาม โดยทางสายกลาง"
"การหยุดกิเลส หยุดอธรรม ปฏิบัติธรรมะ ปฏิบัติธรรมฝ่ายดีงาม โดยทางสายกลาง จะทำให้มีความสุข"

วันอาทิตย์ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566

หยุดวิชาที่ผิดที่ไม่ดี

"ควรหยุดวิชาที่ผิดที่ไม่ดีให้สำเร็จ"
"หยุดวิชาที่ผิดที่ไม่ดีสำเร็จได้ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"การหยุดวิชาที่ผิดที่ไม่ดีจะทำให้หยุดอธรรมได้"

วันเสาร์ที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566

ปฏิบัติสบายๆ

"สามารถปฏิบัติความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง อย่างสบายๆ ได้"
"สามารถปฏิบัติความปรารถนาดี การรู้จักให้รู้จักรับ การรู้คุณแทนคุณ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความตรง การรู้จักวางเฉย รู้จักปล่อยวาง การรู้จักออกจาก ความมีอิสระ อย่างสบายๆ ได้"

วันพฤหัสบดีที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566

การปฏิบัติเกี่ยวกับรูป นาม

"ใช้รูป นาม อย่างถูกต้อง ถูกหลักธรรม ถูกหลักธรรมฝ่ายดีงาม ถูกหลักวิชา ถูกกฎของธรรมชาติ ไม่เป็นกิเลสฝ่ายอธรรม เป็นทางสายกลาง
ใช้รูป นาม อย่างไม่ผิดหลักธรรม ไม่ผิดหลักวิชา ไม่ผิดกฎของธรรมชาติ"
"สำหรับการใช้รูป ไม่ควรใช้นามไปประกอบกับรูป อย่างผิดหลักธรรม ผิดหลักวิชา หรือผิดกฎของธรรมชาติ
สำหรับการใช้นาม ไม่ควรใช้รูปไปประกอบกับนาม อย่างผิดหลักธรรม ผิดหลักวิชา หรือผิดกฎของธรรมชาติ"

ไม่ควรเอา ไม่ควรใช้

"ไม่ควรเอาของผู้อื่น"
"ไม่ควรใช้ของผู้อื่นที่เขาไม่ให้"

ไม่เอา ไม่ใช้ รวมถึงรูปหรือนาม

คิดดี พูดดี ทำดี

"คิดดี พูดดี ทำดี ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"คิดดี พูดดี ทำดี ด้วยความปรารถนาดี การรู้คุณแทนคุณ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม การรู้จักวางเฉย รู้จักปล่อยวาง การรู้จักออกจาก ความมีอิสระ"
"มีเป้าหมายเป็นคิดดี พูดดี ทำดี"
"การคิดดี พูดดี ทำดี ทำให้มีความสุข ไม่เบียดเบียนกัน"

วันอังคารที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566

หลักการแก้ปัญหา

หลักการแก้ปัญหา คือ
๑. รับรู้ ระบุปัญหาตามจริง
๒. รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับปัญหา ตั้งสมมุติฐาน
๓. ทดลองแก้ปัญหา ทำการแก้ปัญหา
๔. สรุปผล บันทึกผล

วันอาทิตย์ที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566

การพึ่งพาภายในขันธ์หรือภายนอกขันธ์

"พึ่งพาภายในขันธ์ของตนเองหรือพึ่งพาภายนอกขันธ์ของตนเอง โดยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันศุกร์ที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566

แรงผลักดัน

"ควรมีแรงผลักดัน อย่างเป็นฝ่ายธรรมะ เป็นความถูกต้องความดี ไม่เป็นกิเลสฝ่ายอธรรม"
"มีแรงผลักดันเป็นความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันพุธที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566

ยึดถือความถูกต้องความดี

"ไม่ควรขอไปทีในความถูกต้องความดี"
"ควรยึดถือความถูกต้องความดี"
"สามารถวางเฉย พักเอาไว้ เป็นทางสายกลาง ในความถูกต้องความดีได้"

วันอังคารที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566

เจตนา ปรุงแต่ง

"ไม่ควรมีเจตนาปรุงแต่งอย่างเป็นอธรรม เป็นวิชาที่ผิดที่ไม่ดี หรือเป็นกิเลส"
"รักษาเจตนาที่ไม่ปรุงแต่งอย่างเป็นอธรรม เป็นวิชาที่ผิดที่ไม่ดี หรือเป็นกิเลส"
"ไม่ควรปรุงแต่งอย่างเป็นอธรรม เป็นวิชาที่ผิดที่ไม่ดี หรือเป็นกิเลส"

วันจันทร์ที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566

วันพฤหัสบดีที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566

มีมูลค่า

"ทำสิ่งต่างๆ ให้มีมูลค่า โดยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

สิ่งต่างๆ ในที่นี้รวมถึงรูปหรือนาม

อยู่กับโลกที่เป็นจริง

"ควรอยู่กับโลกที่เป็นจริง ไม่ควรอยู่กับโลกที่ไม่เป็นจริง"
"เราสามารถสร้างเหตุที่ถูกที่ดี จะทำให้เราอยู่กับโลกที่เป็นจริงได้"

โลกที่เป็นจริง คือ โลกที่เป็นไปตามความจริง ถูกหรือผิดตามจริง ถูกกฎของธรรมชาติ มีเหตุมีผล
โลกที่ไม่เป็นจริง คือ โลกที่ไม่เป็นไปตามความจริง คิดเอาเอง ผิดแต่ว่าถูก ถูกแต่ว่าผิด ผิดกฎของธรรมชาติแต่ว่าถูกกฎของธรรมชาติ ไม่มีเหตุไม่มีผล ไม่มีกฎแห่งกรรม ไม่มีกรรมไม่มีหนี้

วันพุธที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566

พลังบวก

"พลังบวก คือ ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"พลังบวก คือ การคิด พูด สื่อ กระทำความถูกความดี"
"พลังบวก คือ ชนะอธรรม ไม่คิด พูด สื่อ กระทำอย่างเป็นอธรรมหรือเป็นความผิดความไม่ดี ไม่เบียดเบียน"
"ควรมีและใช้พลังบวก"
"พลังบวก จะทำให้มีความสุขได้"
"พลังบวก จะทำให้ไม่ทุกข์ หรือลดความทุกข์ได้"

บทความที่ได้รับความนิยม