วันศุกร์ที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2566

การสร้างขวัญ กำลังใจ

"สร้างขวัญ กำลังใจในความถูกความดี ในการกระทำความถูกความดี ให้ตนเองหรือผู้อื่น ด้วยแรงผลักดันที่ถูกต้อง คือ แรงผลักดันจากความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความจริงใจ วิชา ความไม่เป็นกิเลสที่ผิดที่ไม่ดี ทางสายกลาง"

วันพฤหัสบดีที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2566

แรงผลักดันที่ถูกที่ดี กิเลสที่ผิดที่ไม่ดี

แรงผลักดันที่ถูกที่ดี คือ แรงผลักดันจากความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลสที่ผิดที่ไม่ดี ทางสายกลาง
กิเลสที่ผิดที่ไม่ดี คือ แรงผลักดันจากความผิด อธรรม ธรรมฝ่ายไม่ดี ความไม่ดี วิชาที่ผิดที่ไม่ดี ความโลภ ความโกรธ ความหลง ความไม่ใช่ทางสายกลาง

"แรงผลักดันที่ถูกที่ดี จะไม่ใช่กิเลสที่ผิดที่ไม่ดีเลย"
"เราควรแยกแรงผลักดันที่ถูกที่ดี และกิเลสที่ผิดที่ไม่ดี ออกจากกันอย่างถูกต้องชัดเจน แล้วเลือกปฏิบัติแรงผลักดันที่ถูกที่ดี ไม่ปฏิบัติ ตัด ถอนกิเลสที่ผิดที่ไม่ดีให้หมดไป"
"เราไม่ควรตัด ถอนแรงผลักดันที่ถูกที่ดีออกไป"
"เราสามารถมีแรงผลักดันที่ถูกที่ดีได้ ไม่ควรมีกิเลสที่ผิดที่ไม่ดี"
"การมีแรงผลักดันที่ถูกที่ดี จะทำให้มีขวัญ มีกำลังใจ ปฏิบัติความถูกความดีได้"
"การไม่ปฏิบัติ ตัด ถอนกิเลสที่ผิดที่ไม่ดี จะทำให้มีขวัญ มีกำลังใจ ไม่ปฏิบัติความผิดความไม่ดีได้"

วันอังคารที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2566

ประตูสู่ความถูกความดี

ธรรมที่เป็นประตูสู่ความถูกความดี คือ
- ความปรารถนาดี
- ความเป็นกลาง
- ความเป็นธรรม
- ความตรง
- ทางสายกลาง

อันดับความสำคัญ

อันดับความสำคัญตามลำดับ เป็น
- ธรรมะ ความถูกความดี
- วิชา
- สมบัติรูป สมบัตินาม รวมถึงขันธ์

ไม่ควรให้อันดับความสำคัญสูงสุดเป็นอธรรม ความผิดความไม่ดี
ไม่ควรให้อันดับความสำคัญสูงสุดเป็นสมบัติรูป สมบัตินาม
ไม่ควรเป็นอธรรมนิยมหรือความผิดความไม่ดีนิยม ไม่ควรเป็นสมบัติรูป สมบัตินามนิยม ควรเป็นธรรมะนิยมหรือความถูกความดีนิยม

การแก้ความโลภ ความโลภมี

"แก้ความโลภ ความโลภมีโดยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความปรารถนาดี ความเพียร ความมีเหตุผล การรู้คุณแทนคุณ การรู้จักให้รู้จักรับ การรู้จักสละ รู้จักแก้ปัญหา ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความตรง ความจริง ความจริงใจ วิชา การรู้จักวางเฉย การรู้จักปล่อยวาง การรู้จักออกจาก ความไม่เป็นอธรรม ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
ย่อ
"แก้ความโลภ ความโลภมีโดยความปรารถนาดี ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ทางสายกลาง"

วันจันทร์ที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2566

การแก้ความเห็นแก่ตัว

"แก้ความเห็นแก่ตัวได้โดยการมีความปรารถนาดี มีธรรมฝ่ายดี มีวิชา มีความเพียร มีเหตุผล การรู้คุณแทนคุณ การรู้จักให้รู้จักรับ การรู้จักสละ รู้จักแก้ปัญหา มีความเป็นกลาง มีความเป็นธรรม มีความตรง การรู้จักวางเฉย การรู้จักปล่อยวาง การรู้จักออกจาก มีความไม่เป็นอธรรม มีความไม่เป็นกิเลส มีทางสายกลาง"
ย่อ
"แก้ความเห็นแก่ตัวได้โดยการมีความปรารถนาดี มีความเป็นกลาง มีความเป็นธรรม มีทางสายกลาง"

ซ่อมแซม รักษาขันธ์

"ขันธ์จะเสียหายได้"
"ซ่อมแซม รักษาขันธ์ของตนเองหรือผู้อื่น ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"มีความเป็นกลาง มีความเป็นธรรม มีวิชาก่อน แล้วถึงจะซ่อมแซม รักษาขันธ์ของตนเองหรือผู้อื่นได้"

วันเสาร์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2566

สิ่งไม่ควรปฏิบัติ ควรตัด ควรถอน ๑๔ ข้อ

การไม่ปฏิบัติ ตัด ถอนสิ่งเหล่านี้ ทำให้ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลสได้ ทำให้สงบสุข เรียบร้อยได้
สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งไม่ควรปฏิบัติ ควรตัด ควรถอน อย่างเป็นทางสายกลาง
- กาย อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส
- ความลังเลในธรรมะหรือความถูกความดี ความเห็นผิด
- การกระทำผิดจากเป้าหมายที่แท้จริงที่ถูกที่ดี การมีความสุขในทางที่ผิดที่ไม่ดีหรือเป็นกิเลส

- การใช้พื้นฐาน ทางรูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส รับรู้ทางใจ อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส
- ความไม่พอใจ ขัดใจ ความขัดเคืองใจ ความขุ่นข้องหมองใจ ความกระทบกระทั่งในใจ อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส

- การใช้รูปหรือรูปธรรม อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส รูปในที่นี้หมายถึงรูปที่ไม่เป็นไปในทางพื้นฐานเลย
- การใช้อรูปหรือนามธรรม อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส
- ตัวตนอย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส ความรู้สึกที่เป็นไปในตนเอง คุณสมบัติของตน แข่ง เปรียบเทียบ อย่างเป็นอธรรม เป็นวิชาที่ผิดที่ไม่ดี หรือเป็นกิเลส
- ขาดสติ ขาดสัมปชัญญะ ขาดสมาธิ ความกระเพื่อมฟุ้งของจิต อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส
- การใช้ธรรม อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส
- การเรียงผิด ผิดเนื้อนาม ผิดลำดับจากหลักวิชาหรือกฎของธรรมชาติ
- การใช้ขันธ์ อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส คือ ใช้รูปขันธ์ เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส
- ขาดความถูกต้อง ขาดธรรมะ ขาดธรรมฝ่ายดีงาม ขาดวิชา ขาดทางสายกลาง ความผิด แก้ปัญหาด้วยความผิด
- ความไม่มีวิชา มีหรือใช้ทักษะ วิชา อย่างเป็นกิเลส ทักษะที่ผิดที่ไม่ดี วิชาที่ผิดที่ไม่ดี

การปฏิบัติเกี่ยวกับอธรรม อวิชา กิเลส

การปฏิบัติเกี่ยวกับอธรรม อวิชา กิเลส ควรกระทำอย่างเป็นทางสายกลาง คือ
- การไม่ยอมทำตาม หรือมีใจไม่ยอมอยู่ใต้อำนาจอธรรม ความผิดความไม่ดี อวิชา กิเลส
- การไม่พึงพอใจ ไม่ปรารถนาในอธรรม อวิชา กิเลส
- การไม่เข้าหา ยึด ติด พึ่ง พึ่งพา ใช้อธรรม อวิชา กิเลส
- การฝืน อดทนอดกลั้นต่ออธรรม กิเลส การบีบบังคับของกิเลส แนวลบอย่างเป็นอธรรม
- การเว้นอธรรม อวิชา กิเลส

อวิชา คือ ความไม่มีวิชา วิชาที่ผิดที่ไม่ดี

"เมื่อเราเกิดอธรรม หรือเกิดกิเลส เราสามารถวางเฉยต่ออธรรม กิเลสนั้นๆ ไปเรื่อยๆ ด้วยวิชา พยายามตัด ถอนอธรรม กิเลสนั้นๆ ไปทีละน้อยด้วยวิชา แล้วไม่ปฏิบัติอธรรม กิเลสนั้นๆ"
"เมื่อเราเกิดอธรรม หรือเกิดกิเลส เราสามารถวางเฉยต่ออธรรม กิเลสนั้นๆ ไปเรื่อยๆ ด้วยวิชา ให้เพียงพอ พยายามตัด ถอนอธรรม กิเลสนั้นๆ ไปเรื่อยๆ ด้วยวิชา จนหมด"
"หากเราถูกผู้อื่นเบียดเบียนด้วยอธรรม กิเลส เราสามารถวางเฉยด้วยวิชา แล้วแก้ปัญหาโดยธรรมะ วิชา"

วันศุกร์ที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2566

ธรรมประจำใจ

ธรรมประจำใจ ๒ ข้อ คือ
- ไม่เป็นอธรรม ไม่มีอธรรม
- ไม่เป็นกิเลส ไม่มีกิเลส

ธรรมประจำใจ คือ
- เมตตา คือ ปรารถนา คิด ปฏิบัติให้ตนเองหรือผู้อื่นถูก ดี ได้ดี มีความสุข อย่างเป็นกลาง เป็นธรรม
- กรุณา คือ ปรารถนา คิด ปฏิบัติให้ตนเองหรือผู้อื่นไม่ผิด ไม่ชั่ว ไม่ได้ไม่ดี ไม่ทุกข์ อย่างเป็นกลาง เป็นธรรม
- มุทิตา คือ พลอยยินดีเมื่อเขาอยู่ดีมีสุข ได้ดีมีสุข
- อุเบกขา คือ การรู้จักวางเฉย รู้จักปล่อยวาง การรู้จักวางใจเป็นกลาง
- ไม่เป็นอธรรม ไม่เบียดเบียน
- ไม่เป็นกิเลส

ธรรมะหลัก

ธรรมะหลัก
- ความถูก ธรรมะ ความว่าง ทางสายกลาง
- ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม
- วิชา
- ความไม่เป็นกิเลส

ธรรมะหลัก ๔ เป็นธรรมที่ทำให้ถูก ดี ได้ดี ไม่ได้ไม่ดี มีความสุขอย่างถูกต้อง ไม่ทุกข์ได้
ธรรมะหลัก ๔ เป็นธรรมที่ทำให้เป็นอิสระได้
ธรรมะหลัก ๔ เป็นทางเจริญ รุ่งเรือง
ธรรมะหลัก ๔ เป็นธรรมที่ทำให้ชนะ
ธรรมะหลัก ๔ เป็นธรรมที่ทำให้สงบสุข เรียบร้อยได้
ธรรมะหลัก ๔ เป็นสิ่งที่คุ้มครองผู้ปฏิบัติได้
ควรเก็บธรรมะหลัก ๔ เอาไว้ในใจ เพื่อนำไปปฏิบัติ จะทำให้ดีขึ้นได้
ไม่เป็นแนวติดลบ เป็นแนวศูนย์ หรือเป็นแนวติดบวก ได้โดยธรรมะหลัก ๔

ธรรมะหลัก ธรรมฝ่ายดีงาม เป็นบารมีที่ถูกที่ดี
ธรรมะหลัก ๔ ธรรมฝ่ายดีงาม เป็นธรรมที่ทำให้มีแรง มีพลัง มีกำลังเพียงพอ

วันอังคารที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2566

สิ่งที่สำคัญในการไม่เบียดเบียน

"สิ่งที่สำคัญในการไม่เบียดเบียน คือการไม่คด หรือมีความตรง"
"สิ่งที่สำคัญในการไม่เบียดเบียน คือการไม่ลำเอียง หรือมีความเป็นกลาง"
"สิ่งที่สำคัญในการไม่เบียดเบียน คือการไม่เอาเปรียบ หรือมีความเป็นธรรม"
"ควรปฏิบัติการไม่คดต่อทุกคน รวมถึงตนเองด้วย"
"ควรปฏิบัติการไม่ลำเอียงต่อทุกคน รวมถึงตนเองด้วย"
"ควรปฏิบัติการไม่เอาเปรียบต่อทุกคน รวมถึงตนเองด้วย"

สิ่งที่ทำให้มีความสุข

สิ่งที่ทำให้มีความสุข คือ
- ธรรมะ ธรรมฝ่ายดี
- ความไม่เป็นกิเลส
- การรู้คุณแทนคุณ

วันจันทร์ที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2566

การทำงาน

"ทำงานเพื่อผู้อื่นหรือตนเอง ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความปรารถนาดี ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความจริงใจ วิชา ความเพียร ความไม่เบียดเบียน ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ทำงานเพื่อผู้อื่นหรือตนเอง ด้วยการรู้จักวางเฉย วางใจเป็นกลาง รู้จักปล่อยวาง รู้จักออกจาก รู้จักพัก อย่างถูกต้อง"

วันจันทร์ที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2566

ความหดหู่

"ความหดหู่ เกิดจากการพลาดหวัง ผิดพลาด ล้มเหลว อย่างเป็นกิเลส"
"แก้ไขความหดหู่ได้โดยการพัก การวางเฉย วางใจเป็นกลาง ปล่อยวาง การออกจาก แล้วตั้งหลัก คิดหาวิธีใหม่ด้วยวิชา ทางสายกลาง"

วันเสาร์ที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2566

ความอาลัย ความเศร้าหมอง ไม่เสียดาย ไม่ปฏิบัติความโลภ ความโกรธ ความหลง

ความอาลัย ความเศร้าหมอง
"ควรไม่ปฏิบัติ ควรตัด ควรถอนความอาลัย ความเศร้าหมอง อย่างเป็นทางสายกลาง"
"ความอาลัย ความเศร้าหมอง เกิดจากความเสียดายอย่างเป็นกิเลส"
"ความอาลัย ความเศร้าหมอง จะเป็นอุปสรรคต่อความสำเร็จในทางที่ถูกที่ดี"
"การตัด ถอนความอาลัย ความเศร้าหมอง จะทำให้จิตเบิกบาน"
"การตัด ถอนความอาลัย ความเศร้าหมอง จะทำให้ไม่ทุกข์ใจ ไม่หนักใจ แก้ปัญหาได้"

ไม่เสียดาย
"ทำให้ดีที่สุด ไม่ควรเสียดายอย่างเป็นกิเลส"

ไม่ปฏิบัติความโลภ ความโกรธ ความหลง
"ควรไม่ปฏิบัติ ควรตัด ควรถอนความโลภ ความโกรธ ความหลง อย่างเป็นทางสายกลาง"
"การไม่ปฏิบัติ ตัด ถอนความโลภ ความโกรธ ความหลง จะทำให้จิตเบิกบาน"
"การไม่ปฏิบัติ ตัด ถอนความโลภ ความโกรธ ความหลง จะทำให้ไม่ทุกข์ใจ ไม่เศร้าหมอง"

วันพุธที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2566

การนำทาง

"ให้ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความดีงาม วิชา ความเพียร ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง นำทางให้เรา"
"ไม่ให้ความโลภนำทางให้เรา"
"ไม่ให้อธรรมนำทางให้เรา"
"ไม่ให้กิเลสนำทางให้เรา"

ย่อ
"ให้ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง นำทางให้เรา"

วันอังคารที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2566

สดใส ร่าเริง เบิกบาน

"สดใส ร่าเริง เบิกบาน ไม่หดหู่ ไม่ซึมเศร้า ไม่เศร้าหมอง ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นอธรรม ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันจันทร์ที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2566

สิ่งไม่ควรปฏิบัติ ควรตัด ควรถอน ๑๗ ข้อ

การไม่ปฏิบัติ ตัด ถอนสิ่งเหล่านี้ ทำให้ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลสได้ ทำให้สงบสุข เรียบร้อยได้
สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งไม่ควรปฏิบัติ ควรตัด ควรถอน อย่างเป็นทางสายกลาง
- กาย อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส
- ความลังเลในธรรมะหรือความถูกความดี ความเห็นผิด
- การกระทำผิดจากเป้าหมายที่แท้จริงที่ถูกที่ดี การมีความสุขในทางที่ผิดที่ไม่ดีหรือเป็นกิเลส

- การใช้พื้นฐาน ทางรูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส รับรู้ทางใจ อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส
- ความไม่พอใจ ขัดใจ ความขัดเคืองใจ ความขุ่นข้องหมองใจ ความกระทบกระทั่งในใจ อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส

- การใช้รูปหรือรูปธรรม อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส รูปในที่นี้หมายถึงรูปที่ไม่เป็นไปในทางพื้นฐานเลย
- การใช้อรูปหรือนามธรรม อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส
- ตัวตนอย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส ความรู้สึกที่เป็นไปในตนเอง คุณสมบัติของตน แข่ง เปรียบเทียบ อย่างเป็นอธรรม เป็นวิชาที่ผิดที่ไม่ดี หรือเป็นกิเลส
- ขาดสติ ขาดสัมปชัญญะ ขาดสมาธิ ความกระเพื่อมฟุ้งของจิต อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส
- การใช้ธรรม อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส
- ความไม่มีวิชา มีหรือใช้ทักษะ วิชา อย่างเป็นกิเลส ทักษะที่ผิดที่ไม่ดี วิชาที่ผิดที่ไม่ดี
- การใช้ขันธ์ อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส คือ ใช้รูปขันธ์ เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส
- ขาดความถูกต้อง ขาดธรรมะ ขาดธรรมฝ่ายดีงาม ขาดวิชา ขาดทางสายกลาง
- อธรรม อธรรมความโลภมี สะสมอธรรมหรือกิเลส บารมีที่ผิดที่ไม่ดี ทุจริต ความไม่เป็นกลาง ความไม่เป็นธรรม การทำให้คลาดเคลื่อน การทำให้ผิดพลาด การทำให้ผิด การบังคับอย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส การเจาะระบบอย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส การถูกเจาะระบบอย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส การรับสิ่งตอบแทนจากการปฏิบัติอธรรมหรือกิเลส การพนัน อบาย
- ความอาลัย เศร้าหมอง ความเสียดายอย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส ความหดหู่ ความพลาดหวัง ผิดพลาด ล้มเหลวอย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส
- ความสำเร็จ ความสมหวัง อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส
- กิเลส ความผิด แก้ปัญหาด้วยความผิด

อธรรมหลัก

อธรรมหลัก คือ
- ความผิด อธรรม ความไม่ใช่ทางสายกลาง ความหย่อนเกินหรือตึงเกิน
- ธรรมฝ่ายชั่วร้าย ความชั่วร้าย
- ความไม่มีวิชา วิชาที่ผิดที่ไม่ดี
- กิเลส

สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่ไม่ควรปฏิบัติ อย่างเป็นทางสายกลาง

ตัดอธรรมให้ขาด

ตัดอธรรมให้ขาด
"ควรเอาชนะใจตนเอง แล้วตัดอธรรมให้ขาด"
"การตัดอธรรมทั้งหมดให้ขาดแล้ว จะเป็นจุดเริ่มต้นของเรา"
"การตัดอธรรมทั้งหมดให้ขาดแล้ว จะเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีของเรา"
"การตัดอธรรมทั้งหมดให้ขาด แล้วกระทำความถูกความดี มีอิสระ จะทำให้มีความสุขมาก"

วันอาทิตย์ที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2566

แก้ปัญหาเป็นทุกข์เนื่องจากการทำดี

ในการพยายามทำดี หรือการทำดี แล้วเป็นทุกข์ สามารถแก้ไขได้โดย
- การฝึกฝน ปฏิบัติความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง
- มีความใฝ่ดี มีความปรารถนาดี
- มีความตั้งมั่น เพียร พยายาม อดทน ในการทำดี
- มีสติ มีสมาธิ
- การฝึกให้มีเหตุผล มีเหตุผล รู้เหตุ รู้ผล
- มีความเป็นกลาง มีความเป็นธรรม
- การทำดี ด้วยความเหมาะสม พอเหมาะ
- การรู้จักวางเฉย วางใจเป็นกลาง ปล่อยวาง รู้จักออกจาก

วันเสาร์ที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2566

สิ่งสำคัญ การปฏิบัติธรรมฝ่ายดีงาม ช่วยเหลือตนเองหรือผู้อื่น

สิ่งสำคัญ
"การไม่เบียดเบียน ความไม่เป็นกิเลสเป็นสิ่งสำคัญ
การไม่เบียดเบียนนี้รวมไปถึงการไม่เบียดเบียนทั้งผู้อื่นและตนเอง
ความไม่เป็นกิเลสจะทำให้เราไม่ไปปฏิบัติอธรรม ไม่เบียดเบียน กระทำความถูกความดี ไม่ทุกข์ และมีความสุขได้"

การปฏิบัติธรรมฝ่ายดีงาม
"การปฏิบัติธรรมฝ่ายดีงามอย่างเป็นวิชา ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง จะทำให้เราอยู่ได้อย่างถูกต้อง มีคุณประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่น มีความสุข อยู่ในแนวบวกได้ สร้างสรรค์ได้"

ช่วยเหลือตนเองหรือผู้อื่น
"ช่วยตนเองหรือผู้อื่นด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันพฤหัสบดีที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2566

กฎ

"ไม่ควรเอาชนะกฎของธรรมชาติ ไม่ควรเอาชนะกฎของการกระทำ"
"ไม่ควรฝืนกฎของธรรมชาติ ไม่ควรฝืนกฎของการกระทำ"

บทความที่ได้รับความนิยม