วันอาทิตย์ที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2566

ธรรมสำหรับควบคุมตนเอง

ธรรมสำหรับควบคุมตนเอง มีดังนี้
สติ คือ ความระลึกได้
ทมะ คือ การบังคับควบคุมตน, การข่มใจ, การฝึกตน
ขันติ คือ ความอดกลั้น, ความอดทน

วันเสาร์ที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2566

การได้ความพิจารณา ทักษะ วิชา

"ไม่ควรได้ความพิจารณา ทักษะ วิชา จากความผิดความไม่ดีหรือจากฝ่ายอกุศล"
"ควรได้ความพิจารณา ทักษะ วิชา จากความถูกต้องความดีหรือจากฝ่ายกุศล"

วันศุกร์ที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2566

อุดหนุน ส่งเสริม ดีต่อใจ

อุดหนุน ส่งเสริม
"อุดหนุน ส่งเสริมความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส"
"อุดหนุน ส่งเสริมสิ่งที่ถูกหลักธรรม ถูกหลักธรรมฝ่ายดีงาม ถูกหลักวิชา"
"อุดหนุน ส่งเสริมสิ่งที่ถูกที่ดี"
"อุดหนุนสิ่งที่ไม่เป็นอธรรม"
"อุดหนุนสิ่งที่ไม่เป็นกิเลส"
"เราอุดหนุนสิ่งแบบไหน สิ่งใกล้ตัวเราก็จะเป็นแบบนั้น"
"เราอุดหนุนสิ่งแบบไหน ก็จะน้อมนำให้เราเป็นแบบนั้นด้วย" 

ดีต่อใจ
"ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม เป็นสิ่งที่ดีต่อใจ"

วันพฤหัสบดีที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2566

มองกลาง มองบวก

"สามารถมองกลางต่อสิ่งต่างๆ ได้ ทั้งรูปหรือนาม สามารถมองบวกแทรกเข้าไปในการทำงานหรือการทำหน้าที่ได้ เพื่อให้งานสำเร็จเป็นผล"
"การมองกลางต่อสิ่งต่างๆ ทั้งรูปหรือนาม จะทำให้เบาใจ ไม่หนักใจ สบายใจ มีความเป็นกลาง"

ความสุขสูงสุด

"ความสุขสูงสุด คือความสุขจากความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"มองความสุขสูงสุด อย่างกลางๆ"
"สามารถมีความสุขสูงสุดอย่างพอประมาณได้"

วันพุธที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2566

ความสุขที่ควรมี

"ความสุขที่ควรมี คือความสุขจากความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"มองความสุข อย่างกลางๆ"
"สามารถมีความสุขอย่างพอประมาณได้"

การมี

มี ได้โดยการปฏิบัติ
๑. ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง
๒. การหา เรียง ทำ สร้าง
๓. ความอิสระ อย่างถูกต้อง

วันอังคารที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2566

โล่ง รับรู้ได้ จับได้ คิดออก ทำได้

"โล่ง รับรู้ได้ จับได้ คิดออก ทำได้ ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง ความไม่เป็นอธรรม"

มอง กระทำด้วยวิชา

"มองสิ่งต่างๆ ด้วยวิชา กระทำด้วยวิชา มองปัญหาด้วยวิชา แก้ปัญหาด้วยวิชา"

วิชา หมายถึง วิชาที่ถูกต้องที่ดี

สิ่งเสริมกัน

"ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง เป็นสิ่งเสริมกัน"
"ความผิด อธรรม ธรรมฝ่ายไม่ดี ความไม่ดี วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส ความไม่ใช่ทางสายกลาง การหย่อนเกินหรือตึงเกิน เป็นสิ่งเสริมกัน"

วันพุธที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2566

การทำให้เจริญ

"อุปสรรคต่อความสำเร็จหรือความเจริญ คือความคด ความโกง"
"ความคด ความโกงทำให้ทุกข์ใจ ไม่สบายใจ ทำให้จิตใจเศร้าหมอง
ความตรง ความซื่อสัตย์ ความสุจริตทำให้ไม่ทุกข์ใจ สบายใจ เบาใจ"
"การทำให้เจริญ เราควรขจัดความคด ความโกงให้หมดไปจากจิตใจของเราก่อน"
"การทำให้เจริญ ทำได้โดยการขจัดความคด ความโกงให้หมดไป ให้มีแต่ความตรง ความซื่อสัตย์ ความสุจริต สติปัญญา ความเพียรด้วยวิชา ความอดทน ความจริงใจ"
"ควรไม่คด ไม่โกงเลย ทั้งทางรูปหรือทางนาม"

วันจันทร์ที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2566

คุณงามความดี ทำให้เป็นผล

คุณงามความดี
"มองคนที่คุณงามความดี ไม่มองที่ทรัพย์สมบัติ"
"ควรกระทำคุณงามความดี"

ทำให้เป็นผล
"ทำความถูก ธรรมะ ทางสายกลาง ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ให้เป็นผล"
"ทำความตรง ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความจริง ความจริงใจ ให้เป็นผล"
ย่อ
"ทำธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ให้เป็นผล"
สรุป
"ทำให้อธรรม ธรรมฝ่ายไม่ดีเป็นโมฆะ ทำธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงามให้เป็นผล"

วันอาทิตย์ที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2566

โมฆะ

"ควรทำให้อธรรมเป็นโมฆะ ทำให้ธรรมะไม่เป็นโมฆะ"
"ควรทำให้อธรรมของเราเป็นโมฆะ ทำให้ธรรมะของเราไม่เป็นโมฆะ"
"ควรทำให้ความผิดเป็นโมฆะ ทำให้ความถูกไม่เป็นโมฆะ"
"ควรทำให้ธรรมฝ่ายไม่ดี ความไม่ดีเป็นโมฆะ ทำให้ธรรมฝ่ายดี ความดีไม่เป็นโมฆะ"
"ควรทำให้ความไม่จริงในธรรมชาติเป็นโมฆะ ทำให้ความจริงในธรรมชาติไม่เป็นโมฆะ"
"ควรทำให้ความไม่จริงเป็นโมฆะ ทำให้ความจริงไม่เป็นโมฆะ"
"ควรทำให้วิชาที่ผิดที่ไม่ดีเป็นโมฆะ ทำให้วิชาที่ถูกที่ดีไม่เป็นโมฆะ"
"ควรทำให้ความโลภ ความโกรธ ความหลงเป็นโมฆะ ทำให้ความไม่โลภ ความไม่โกรธ ความไม่หลงไม่เป็นโมฆะ"
"ควรทำให้กิเลสเป็นโมฆะ ทำให้ความไม่เป็นกิเลสไม่เป็นโมฆะ"

วันศุกร์ที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2566

การกระทำที่ควร นำพา

การกระทำที่ควร
"การกระทำที่ควร คือ คิดดี ทำดี พูดดี ตรง จริงใจ อยู่กับความเป็นจริง อดทน ทางสายกลาง"

นำพา
"นำพาด้วยความถูก ธรรมะ ความดี ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความเหมาะสม"
"ควรนำพาด้วยความถูก ธรรมะ ความดี ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความเหมาะสม ให้เป็นนิสัย"
"เราสามารถแทนคุณโดยการให้รูป นามตอบแทน หรือนำพาผู้มีคุณอย่างถูกต้องด้วยธรรมะ ความดี ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความเหมาะสมได้"
"หากเราแทนคุณให้ผู้มีคุณด้วยรูป นามไม่ได้ เราสามารถแทนคุณโดยการนำพาผู้มีคุณอย่างถูกต้องด้วยธรรมะ ความดี ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความเหมาะสมได้"

วันพุธที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2566

ไม่เป็นศัตรู

"ไม่ถือว่าผู้อื่นเป็นศัตรู ถึงแม้ว่าเขาจะไม่ใช่มิตร แต่ก็ไม่เป็นศัตรูด้วย"
"เราจะถือว่าอธรรม กิเลสเป็นศัตรู"

วันอังคารที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2566

ระบบ แบบแผน

"ควรมีระบบ แบบแผน อย่างถูกต้อง ถูกหลักธรรม ถูกหลักธรรมฝ่ายดีงาม ถูกหลักวิชา ถูกกฎของธรรมชาติ ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"
"การมีระบบ แบบแผน จะให้ธรรมชาติอนุญาต อนุมัติ อย่างถูกต้อง แล้วนำระบบ แบบแผนไปใช้"

วันจันทร์ที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2566

ธรรมชาติ กฎของธรรมชาติ

"ควรมองให้เห็นธรรมชาติที่แท้จริง"
"ให้ธรรมชาติอนุญาต อนุมัติ อย่างถูกต้อง"
"ควรพึ่งพาธรรมชาติฝ่ายที่ถูกที่ดี ไม่ควรพึ่งพาธรรมชาติฝ่ายที่ผิดที่ไม่ดี"
"ควรมองให้เห็นกฎของธรรมชาติ แล้วทำให้ถูกกฎของธรรมชาติทั้งหมด"
"ควรรับจากสิ่งที่ถูกกฎของธรรมชาติ"
"ควรมองให้เห็นกฎของธรรมชาติ แล้วคิดวิชาจากกฎของธรรมชาติ ใช้วิชาตามกฎของธรรมชาติ"
"ควรมองให้เห็นกฎของธรรมชาติ แล้วคิดธรรมะจากกฎของธรรมชาติ ใช้ธรรมะอย่างถูกกฎของธรรมชาติ"

วันพฤหัสบดีที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2566

เรียงธรรมะ วิชา

"เรียงธรรมะ วิชาอย่างถูกเนื้อนาม ถูกลำดับตามหลักวิชา ตามกฎของธรรมชาติ เพื่อนำไปเก็บหรือนำไปใช้"

อยู่ต่อ

"การอยู่ต่อจะต้องสอบความถูก ธรรมะ ความดี ความคิด การเลือก การตัดสินใจให้ผ่าน"
"การอยู่ต่อจะต้องสอบวิชาให้ผ่าน"
"เมื่อสอบการอยู่ต่อไม่ผ่าน จะต้องนำสมบัติรูป สมบัตินามมาใช้อย่างถูกหลักวิชาให้ธรรมชาติเพื่อกลับไปสอบแก้ตัว การสอบแก้ตัวจะมีขีดจำกัด"

วันอังคารที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2566

สิ่งที่ควรได้ พื้นฐานของวิชา

สิ่งที่ควรได้
"สิ่งที่ควรได้ คือ ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

พื้นฐานของวิชา
"ควรคิด ศึกษา ปฏิบัติธรรมะก่อน เพื่อให้เป็นพื้นฐานของการเรียนรู้ ฝึก ใช้วิชาต่างๆ"

เข้มงวด เคร่งครัด มีวินัย

"เข้มงวด เคร่งครัด มีวินัย ในความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"เข้มงวด เคร่งครัด มีวินัย ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันจันทร์ที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2566

สรุปความสุขที่แท้จริง

"ความสุขที่แท้จริง คือ ความสุขจากความถูกความดี"
"ความสุขที่แท้จริง คือ ความสุขจากความไม่เป็นอธรรม ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

บทความที่ได้รับความนิยม