ข้อคิด ธรรมะ โดย ปัญญา Dh (ชวัลธร) คิด พิจารณา จด บันทึกเพื่อนำไปปฏิบัติ แบ่งปัน ส่งต่อได้
วันพฤหัสบดีที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2566
ค้ำชู ส่งเสริม สนับสนุน
"ค้ำชู ส่งเสริม สนับสนุนด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
วันพุธที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2566
วันจันทร์ที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2566
การรับความสุข
"ควรรับความสุขจากความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง
ไม่ควรรับความสุขจากอธรรม วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส"
"ควรใช้ทางสายกลางในการไม่รับความสุขจากอธรรม วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส"
"ไม่ควรยึดติด อาลัยในความสุขที่มาจากอธรรม วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส"
วันอาทิตย์ที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2566
ตอบกลับ
การตอบกลับที่ควร คือ
"ตอบกลับด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเหมาะสม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม การรู้คุณแทนคุณ วิชา การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นอธรรม ความไม่เบียดเบียน ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
วันเสาร์ที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2566
หล่อเลี้ยงในการอยู่
"สิ่งที่หล่อเลี้ยงในการอยู่ คือ ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
วันศุกร์ที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2566
คิดดี ฐาน
คิดดี
"อยู่กับความเป็นจริง แล้วคิดดี แก้ปัญหาโดยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"อยู่กับความเป็นจริง แล้วแก้ปัญหาด้วยการคิดดี"
"การอยู่กับความเป็นจริง แล้วคิดดี จะทำให้สบายใจ"
ฐาน
"มีฐานเป็นความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
วันพฤหัสบดีที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2566
ความมี
"สามารถให้ความมี อย่างเป็นธรรมะ เป็นความถูกต้องความดี ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส เป็นเป้าหมาย เป็นเหตุ หรือเป็นผลได้"
การเลือก
การเลือกที่ควรทำอย่างเป็นทางสายกลาง
"เลือกความถูกต้องความดีเสมอ ไม่เลือกความผิดความไม่ดีเลย"
"เลือกความถูกต้องความดีล้วน ไม่เลือกความมีความอยู่ได้อย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลสเลย การปฏิบัติควรปฏิบัติอย่างเป็นทางสายกลาง"
"เลือกที่จะรู้คุณแทนคุณเสมอ ไม่เลือกที่จะได้เปล่าเลย"
วันอังคารที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2566
หยุดอธรรม
"ควรหยุดอธรรมในตนเองให้สำเร็จ"
"ควรหยุดอธรรมให้สำเร็จ"
"ควรหยุดอธรรมความโลภมีให้สำเร็จ"
"หยุดอธรรมสำเร็จได้ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"หยุดอธรรมได้ด้วยความเป็นกลาง ความเป็นธรรม การรู้จักวางเฉย ความจริงใจต่อตนเอง ต่อผู้อื่น อย่างถูกต้อง"
"การหยุดอธรรมทำได้โดยการเลือกความถูกต้องความดีเป็นหลัก"
"การหยุดอธรรม อาจจะไม่สามารถหยุดที่ผู้อื่นได้ แต่เราพยายามหยุดที่ตนเองได้ ถ้าหลายๆ คน หรือทุกคน พยายามหยุดอธรรมที่ตนเองให้สำเร็จ จะดีขึ้นได้"
วันจันทร์ที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2566
ความจริงใจ
"มีความจริงใจต่อตนเองหรือผู้อื่น ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความตรง วิชา การรู้จักวางเฉย ความไม่เป็นอธรรม ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"จริงใจ คือ มอบทางเจริญให้ ไม่มอบทางเสื่อมให้"
"จริงใจ เพื่อความถูกต้องความดี ไม่จำเป็นจะต้องหวังผลตอบแทนให้ตนเอง"
ย่อ
"มีความจริงใจอย่างถูกต้อง เป็นกลาง เป็นธรรม ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"
หรือ
"มีความจริงใจอย่างเป็นกลาง เป็นธรรม"
การรู้ว่าเป็นโมฆะหรือไม่เป็นโมฆะ
"ควรรู้ว่าสิ่งใดเป็นโมฆะ สิ่งใดไม่เป็นโมฆะ"
"การกระทำความผิดความไม่ดีจะทำให้เป็นโมฆะ การกระทำความถูกความดีจะทำให้ไม่เป็นโมฆะ"
สรุปส่วนที่ดี
สรุปส่วนที่ดีที่ควรปฏิบัติ ทำให้เกิดผล อย่างเป็นทางสายกลาง คือ
- การรู้จักให้หรือรู้จักรับ อย่างถูกต้อง
- มีความเป็นกลาง
- มีความเป็นธรรม
- จริงใจ อย่างถูกต้อง
จริงใจ คือ จริงใจต่อตนเองหรือผู้อื่น อย่างถูกต้อง
วันอาทิตย์ที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2566
มีสติ รู้ตัว รับรู้ การถูกโจมตี
"ควรมีสติ รู้ตัว รับรู้ ว่าถูกความผิด อธรรม วิชาที่ผิดที่ไม่ดี หรือกิเลสอะไรโจมตีตามจริง อย่างเป็นทางสายกลาง แล้วแก้ปัญหาได้โดยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
วันพุธที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2566
การสละไม่รับ
"เราสามารถสละไม่รับได้ในทุกสิ่ง ทั้งรูปหรือนาม เพื่อให้ถูกต้อง ดีอยู่ได้ ไม่ผิด ไม่ไม่ดี"
"เราสามารถสละไม่รับสิ่งที่ได้เปล่า ทั้งรูปหรือนาม เพื่อให้ถูกต้อง ดีอยู่ได้ ไม่ผิด ไม่ไม่ดี"
"เราสามารถรับได้ หากถูกต้อง ดีแล้ว ไม่ผิด ไม่ไม่ดีแล้ว"
"สามารถหยุดความเร่งของความผิด อธรรม หรือกิเลส ได้โดยการสละไม่รับ อย่างถูกต้อง และตัดความผิด อธรรม กิเลสทั้งหมด"
วันอังคารที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2566
ธรรมประจำตัว
ธรรมที่ควรมีติดประจำตัว ปฏิบัติ และพึ่งพิง คือ
- ความถูก ธรรมะ ทางสายกลาง
- ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม
- วิชา
- ความไม่เป็นกิเลส
วันจันทร์ที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2566
วันอาทิตย์ที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2566
กำลังใจ
"ให้กำลังใจด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม การรู้คุณแทนคุณ ความตรง ความจริงใจ การทำถูกทำดี วิชา การรู้จักวางเฉย ความไม่เบียดเบียน ความไม่โลภ ความไม่หลง ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"สามารถให้กำลังใจตนเอง ผู้อื่น ผู้ที่ทำถูกทำดี หรือผู้ที่มีบุญคุณ อย่างถูกต้อง ด้วยทางสายกลางได้"
ปฏิบัติความถูกต้องความดี
"ควรมีหลักปฏิบัติเป็นความถูกต้องความดี ความไม่เป็นกิเลส ปฏิบัติไปตามทางความถูกต้องความดี ทางสายกลาง"
"ให้ความถูกต้องเป็นสติ"
วันเสาร์ที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2566
ปฏิบัติธรรม ปฏิบัติธรรมะ ปฏิบัติธรรมฝ่ายดีงาม
"เราสามารถปฏิบัติธรรม ปฏิบัติธรรมะ หรือปฏิบัติธรรมฝ่ายดีงามได้ในทุกการกระทำ"
วันพฤหัสบดีที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2566
การใช้เนื้อขันธ์
"ควรจัดรูปแบบเนื้อขันธ์ จัดเนื้อขันธ์ โดยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เบียดเบียน ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"เนื้อขันธ์แบ่งเป็น ๒ ส่วน คือ ส่วนเบาหรือละเอียด ส่วนกลาง ตามลำดับ"
"เราควรใช้เนื้อขันธ์ทั้งส่วนเบาหรือละเอียด ส่วนกลาง ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"เราควรใช้เนื้อขันธ์ทั้งส่วนเบาหรือละเอียด ส่วนกลาง ในการตัดอธรรม ตัดวิชาที่ผิดที่ไม่ดี ตัดกิเลส ปฏิบัติธรรมะ ปฏิบัติธรรมฝ่ายดีงาม ใช้วิชา ด้วยทางสายกลาง"
"เราควรใช้เนื้อขันธ์ทั้งส่วนเบาหรือละเอียด ส่วนกลาง ในการกระทำต่างๆ ในทางที่ถูกที่ดีให้สำเร็จ หรือแก้ปัญหา ด้วยทางสายกลาง"
สิ่งที่ควรเอาชนะ
"สิ่งที่ควรเอาชนะอย่างเป็นทางสายกลาง คืออธรรม ความไม่รู้ วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส แล้วไม่ปฏิบัติสิ่งเหล่านี้"
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
บทความที่ได้รับความนิยม
-
ตั้งค่า ปรับค่าขันธ์ "ควรตั้งค่าต่างๆ ของขันธ์ให้ถูกต้อง ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง&quo...
-
"แผนที่ผิดที่ไม่ดี คือแผนที่ผิดหลักธรรม ผิดคลองธรรม ผิดหลักวิชา หรือผิดกฎของธรรมชาติ แผนที่ถูกที่ดี คือแผนที่ถูกหลักธรรม ถูกคลองธรรม ถู...
-
ลักษณะที่ดีของคน "ลักษณะที่ดีต่างๆ ของคน ตามกฎของธรรมชาติจะมาจากการกระทำความถูกความดีต่างๆ สะสมเอาไว้ หรือมาจากการกระทำบารมีที่ถูกที่ดี...
-
ต้นเหตุ "ต้นเหตุของปัญหา คือ มีงานที่ยังแก้ไขปัญหาไม่สำเร็จ ความทุกข์ การเบียดเบียน" "ต้นเหตุของปัญหา ความทุกข์ การเบียดเบียน...
-
สมดุลรูป นาม "เราควรมีการติดต่อในทางรูป ทางนามที่สมดุลกัน ไม่หนักไปทางใดทางหนึ่ง" "เราควรมีการกระทำหรือการปฏิบัติในทางรูป ทาง...