วันจันทร์ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2567

สิ่งที่ควรทำและหลีกเลี่ยงไม่ได้ คุณของการตัด ถอนอธรรม กิเลส ลักษณะที่ถูก

สิ่งที่ควรทำและหลีกเลี่ยงไม่ได้
"สิ่งที่ทุกขันธ์ควรทำและหลีกเลี่ยงไม่ได้เลย คือการตัด ถอนอธรรม กิเลสทั้งหมด"

คุณของการตัด ถอนอธรรม กิเลส
"คุณของการตัด ถอนอธรรม กิเลสทั้งหมด คือจะทำให้มีความสุขมาก"

ลักษณะที่ถูก
"ลักษณะที่ถูก คือมีความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ลักษณะที่ถูก คือมีการหาเรียงทำสร้าง การรู้คุณแทนคุณ การรู้จักให้รู้จักรับรู้จักเก็บ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความตรง ความจริง ความจริงใจ อย่างถูกต้อง"
"ลักษณะที่ถูก คือสามารถทำความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง เติมให้ตนเองหรือผู้อื่นได้"
"ลักษณะที่ถูก คือไม่สามารถทำอธรรม กิเลสเติมให้ตนเองหรือผู้อื่นได้"

วันศุกร์ที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2567

สิ่งเคยได้

"ไม่ควรยึดติด ไม่ควรยึดมั่นถือมั่นในสิ่งเคยได้"
"ไม่ควรยึดติด ไม่ควรยึดมั่นถือมั่นในสิ่งเคยได้ ว่าจะต้องได้ต่อ เมื่อไม่ได้ในสิ่งที่เคยได้ ก็ไม่เป็นไร"
"ควรตัด ถอนกิเลสความยึดติด ความยึดมั่นถือมั่นในสิ่งเคยได้"
"การรับสามารถรับอย่างมีสติ รับอย่างรู้คุณแทนคุณ รับโดยความเป็นกลาง ความเป็นธรรม รับโดยไม่เบียดเบียน รับอย่างไม่เป็นกิเลส รับโดยไม่ยึดติด ไม่ยึดมั่นถือมั่นในสิ่งที่เคยได้ ได้"

วันศุกร์ที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2567

ถูก อธิษฐาน ชนะ

ถูก
"ควรปฏิบัติความถูก"
"คิด พูด สื่อ ทำ ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ควรปฏิบัติถูกกฎของความถูกความดี"

ถูก คือ ถูกหลักธรรม ถูกหลักธรรมฝ่ายดีงาม ถูกคลองธรรม ถูกศีลธรรม เป็นกลาง เป็นธรรม ถูกหลักวิชา ถูกกฎของธรรมชาติ ไม่เบียดเบียน ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง

อธิษฐาน
"ควรอธิษฐานว่าจะปฏิบัติความถูก"
"ควรอธิษฐานว่าจะไม่เบียดเบียนเลย จะไม่เป็นกิเลสเลย"

ชนะ
"ควรให้ความถูกชนะความผิด อย่างไม่เป็นกิเลส"
"ควรให้ความไม่เบียดเบียนชนะความเบียดเบียน อย่างถูกต้อง ไม่เป็นกิเลส"
"ควรให้ความไม่เป็นกิเลสชนะกิเลส อย่างถูกต้อง"

วันพฤหัสบดีที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2567

ธรรมะที่สำคัญ

ธรรมะที่สำคัญ คือ ความถูก ความไม่เบียดเบียน ความไม่เป็นกิเลส

"สิ่งที่ควรเป็น คือเราไม่ไปเบียดเบียนขันธ์อื่นเลย และขันธ์อื่นไม่เบียดเบียนเราเลย จะทำให้สงบสุข"
"ความไม่เป็นกิเลส จะทำให้มีการรับรู้ได้ ไม่ทุกข์จากกิเลส"

การสร้างที่ควร

ควรปฏิบัติการสร้างที่ควรเหล่านี้
- หยุดความผิด เพื่อสร้างความถูก
- หยุดความชั่ว เพื่อสร้างความดี
- หยุดอธรรม เพื่อสร้างธรรมะ
- หยุดการเบียดเบียน เพื่อสร้างการไม่เบียดเบียน
- หยุดการขาดสติ ฟุ้งซ่าน เพื่อสร้างสติ สมาธิ
- หยุดความไม่รู้ เพื่อสร้างความรู้
- หยุดความไม่มี เพื่อสร้างความมี
- หยุดแนวลบ เพื่อสร้างแนวกลาง แนวบวก
- หยุดความคด เพื่อสร้างความตรง ความซื่อสัตย์ ความซื่อตรง
- หยุดความทุจริต เพื่อสร้างความสุจริต
- หยุดความผิดลำดับ ความไม่เป็นระเบียบ เพื่อสร้างความถูกลำดับ ความเป็นระเบียบ
- หยุดความโลเล เพื่อสร้างความแม่นยำ ความสม่ำเสมอ ความเสมอต้นเสมอปลาย
- หยุดการไม่รู้คุณไม่แทนคุณ เพื่อสร้างการรู้คุณแทนคุณ
- หยุดความโลภ ความตระหนี่ เพื่อสร้างการให้ การสละ การรู้จักหยุด การรู้จักพัก
- หยุดความเห็นแก่ตัว เพื่อสร้างการช่วยเหลือ การมีความรับผิดชอบ
- หยุดความเกียจคร้าน ความมักง่าย เพื่อสร้างความเพียร ความขยัน
- หยุดความอ่อนแอ เพื่อสร้างความเข้มแข็ง ความอดทนอดกลั้น
- หยุดความลำเอียง เพื่อสร้างความเป็นกลาง
- หยุดการเอาเปรียบ เพื่อสร้างความเป็นธรรม ความยุติธรรม
- หยุดความยึดติด ยึดมั่นถือมั่น เพื่อสร้างการวางเฉย การปล่อยวาง การละวาง การไม่ยึดติด การไม่ยึดมั่นถือมั่น
- หยุดวิชาที่ผิดที่ไม่ดี เพื่อสร้างวิชา
- หยุดความเท็จ เพื่อสร้างความจริง
- หยุดความไม่เป็นอิสระแบบถูก การบังคับแบบผิด การมีอิสระแบบผิด เพื่อสร้างความอิสระแบบถูก
- หยุดความทุกข์แบบผิด เพื่อสร้างความสุขแบบถูก
- หยุดกิเลส เพื่อสร้างความไม่เป็นกิเลส
- หยุดความหย่อนเกินหรือความตึงเกิน เพื่อสร้างทางสายกลาง

วันพุธที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2567

การสร้างที่ผิด

ไม่ควรปฏิบัติการสร้างที่ผิดเหล่านี้
- ใช้ความผิด เพื่อสร้างความถูก
- ใช้ความชั่ว เพื่อสร้างความดี
- ใช้อธรรม เพื่อสร้างธรรมะ
- ใช้การเบียดเบียน เพื่อสร้างการไม่เบียดเบียน
- ใช้การขาดสติ ฟุ้งซ่าน เพื่อสร้างสติ สมาธิ
- ใช้ความไม่รู้ เพื่อสร้างความรู้
- ใช้ความไม่มี เพื่อสร้างความมี
- ใช้แนวลบ เพื่อสร้างแนวกลาง แนวบวก
- ใช้ความคด เพื่อสร้างความตรง ความซื่อสัตย์ ความซื่อตรง
- ใช้ความทุจริต เพื่อสร้างความสุจริต
- ใช้ความผิดลำดับ ความไม่เป็นระเบียบ เพื่อสร้างความถูกลำดับ ความเป็นระเบียบ
- ใช้ความโลเล เพื่อสร้างความแม่นยำ ความสม่ำเสมอ ความเสมอต้นเสมอปลาย
- ใช้การไม่รู้คุณไม่แทนคุณ เพื่อสร้างการรู้คุณแทนคุณ
- ใช้ความโลภ ความตระหนี่ เพื่อสร้างการให้ การสละ การรู้จักหยุด การรู้จักพัก
- ใช้ความเห็นแก่ตัว เพื่อสร้างการช่วยเหลือ การมีความรับผิดชอบ
- ใช้ความเกียจคร้าน ความมักง่าย เพื่อสร้างความเพียร ความขยัน
- ใช้ความอ่อนแอ เพื่อสร้างความเข้มแข็ง ความอดทนอดกลั้น
- ใช้ความลำเอียง เพื่อสร้างความเป็นกลาง
- ใช้การเอาเปรียบ เพื่อสร้างความเป็นธรรม ความยุติธรรม
- ใช้ความยึดติด ยึดมั่นถือมั่น เพื่อสร้างการวางเฉย การปล่อยวาง การละวาง การไม่ยึดติด การไม่ยึดมั่นถือมั่น
- ใช้วิชาที่ผิดที่ไม่ดี เพื่อสร้างวิชา
- ใช้ความเท็จ เพื่อสร้างความจริง
- ใช้ความไม่เป็นอิสระแบบถูก การบังคับแบบผิด การมีอิสระแบบผิด เพื่อสร้างความอิสระแบบถูก
- ใช้ความทุกข์แบบผิด เพื่อสร้างความสุขแบบถูก
- ใช้กิเลส เพื่อสร้างความไม่เป็นกิเลส
- หย่อนเกินหรือตึงเกิน เพื่อสร้างทางสายกลาง

วันอาทิตย์ที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2567

สร้างคน ปั้นคน ทำให้ตรงกันข้าม ไม่สุขไม่ทุกข์ ไม่ดีไม่ชั่ว การบันทึก

สร้างคน ปั้นคน
"ไม่ควรให้ความผิด อธรรม วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลสนำ เพื่อให้เกิดความถูก ธรรมะ วิชา ความไม่เป็นกิเลสขึ้นมา"
"ไม่ควรสร้างคน ปั้นคนด้วยความผิด อธรรม การเบียดเบียน วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส ความหย่อนเกินหรือตึงเกิน"
"ควรสร้างคน ปั้นคนด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความตรง ความจริง การไม่เบียดเบียน วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
ย่อ
"ไม่ควรสร้างคน ปั้นคนด้วยอธรรม การเบียดเบียน กิเลส"
"ควรสร้างคน ปั้นคนด้วยธรรมะ การไม่เบียดเบียน ความไม่เป็นกิเลส"

ทำให้ตรงกันข้าม
"ไม่ควรทำให้ตรงกันข้ามแบบผิดเลย"

ไม่สุขไม่ทุกข์
"ไม่สุขไม่ทุกข์ จะทำให้สงบ มีสติ"

ไม่ดีไม่ชั่ว
"ไม่ดีไม่ชั่ว จะใช้สำหรับการวางใจเป็นกลาง หรือพัก"

การบันทึก
"ควรบันทึกประวัติการกระทำต่างๆ ของตนที่ขันธ์ของเรา อย่างถูกต้อง มีขีดจำกัด ด้วยความเป็นกลาง ความตรง ความจริง วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ควรบันทึกประวัติต่างๆ ที่ขันธ์ของเรา อย่างถูกต้อง มีขีดจำกัด ด้วยความเป็นกลาง ความตรง ความจริง วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ตั้งหลัก โดยการบันทึกอย่างถูกต้อง"
"เราสามารถนำเอาประวัติที่บันทึกไว้มาดูภายหลังได้"

วันเสาร์ที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2567

ปฏิบัติถูกกฎของธรรมชาติ ศักดิ์

ปฏิบัติถูกกฎของธรรมชาติ
"แก้ปัญหา โดยการปฏิบัติถูกกฎของธรรมชาติทั้งหมด"

"การปฏิบัติถูกกฎของธรรมชาติทั้งหมด จะทำให้ถูกต้องดีอยู่ได้"
"ปรับตัวโดยการปฏิบัติถูกกฎของธรรมชาติทั้งหมด"
"ตั้งหลักโดยการปฏิบัติถูกกฎของธรรมชาติทั้งหมด"
"การปฏิบัติถูกกฎของธรรมชาติทั้งหมด จะทำให้ไม่ทุกข์หรือทุกข์น้อย"
"การปฏิบัติถูกกฎของธรรมชาติทั้งหมด จะทำให้มีความสุข"
"การปฏิบัติถูกกฎของธรรมชาติทั้งหมด จะทำให้ไม่เบียดเบียน ไม่ปฏิบัติอธรรม ไม่ปฏิบัติผิดไม่ปฏิบัติไม่ดีได้"
"การปฏิบัติถูกกฎของธรรมชาติทั้งหมด จะทำให้ปฏิบัติธรรมะ ปฏิบัติถูกปฏิบัติดีได้"
"การปฏิบัติถูกกฎของธรรมชาติทั้งหมด จะทำให้มีวิชาได้"
"การปฏิบัติถูกกฎของธรรมชาติทั้งหมด จะทำให้ปฏิบัติไม่เป็นกิเลสได้"
"การปฏิบัติถูกกฎของธรรมชาติทั้งหมด จะทำให้ปฏิบัติทางสายกลางได้"
"การปฏิบัติถูกกฎของธรรมชาติทั้งหมด จะทำให้ปฏิบัติถูกกฎของการกระทำ"

ศักดิ์
ศักดิ์ คืออำนาจ, ความสามารถ, กำลัง, ฐานะ
"โดยปกติ ทุกขันธ์ควรมีศักดิ์เท่ากันอย่างเป็นกลาง"
"การปฏิบัติถูกปฏิบัติดี การปฏิบัติธรรมะ การไม่เบียดเบียนกัน จะทำให้ผู้ปฏิบัติมีศักดิ์เพิ่มขึ้นอย่างมีขีดจำกัด มีศักดิ์มากกว่าขันธ์อื่นที่เป็นปกติ"
"การปฏิบัติผิดปฏิบัติไม่ดี การปฏิบัติอธรรม การเบียดเบียนกัน จะทำให้ผู้ปฏิบัติมีศักดิ์ลดลงอย่างมีขีดจำกัด มีศักดิ์น้อยกว่าขันธ์อื่นที่เป็นปกติ"
"ผู้ที่ปฏิบัติความถูกความดีมากกว่า จะมีศักดิ์มากกว่าผู้ที่ปฏิบัติความถูกความดีน้อยกว่า"

วันศุกร์ที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2567

ขนาดนาม เนื้อนามของรูป นาม

"รูป นาม จะมีนามอยู่จำกัด"
"รูป นาม จะมีขนาดนามอยู่จำกัด"
"ไม่ควรเปลี่ยนแปลง แก้ไข เพิ่ม หรือลดขนาดนามของรูปให้ผิดจากธรรมชาติ"
"ไม่ควรเปลี่ยนแปลง แก้ไข เพิ่ม หรือลดขนาดนามของนามให้ผิดจากธรรมชาติ"
"รูป นาม จะมีเนื้อนามอยู่จำกัด"
"ไม่ควรเปลี่ยนแปลง แก้ไข เพิ่ม หรือลดเนื้อนามของรูปให้ผิดจากกฎของธรรมชาติ"
"ไม่ควรเปลี่ยนแปลง แก้ไข เพิ่ม หรือลดเนื้อนามของนามให้ผิดจากกฎของธรรมชาติ"

วันพฤหัสบดีที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2567

สาเหตุของการเบียดเบียน ปฏิบัติอธรรม

"สาเหตุของการเบียดเบียน ปฏิบัติอธรรม คือการปรับตัวอย่างถูกต้อง ด้วยความถูกความดี ไม่ได้ การปฏิบัติถูกกฎของธรรมชาติทั้งหมดไม่ได้"
"สามารถไม่เบียดเบียน ไม่ปฏิบัติอธรรม ได้โดยการปรับตัวอย่างถูกต้อง ด้วยความถูกความดี ให้สำเร็จ การปฏิบัติถูกกฎของธรรมชาติทั้งหมดให้สำเร็จ"

วันพุธที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2567

เติมความถูกความดี

"เติมความถูกความดี ให้ตนเอง ผู้อื่น ขันธ์อื่นๆ ให้เต็มตามกาลก่อน น้อมนำ นำพาให้มีธรรมะ มีวิชาที่ถูกต้องครบตามกาล ทำให้ทุกขันธ์ปฏิบัติธรรมะ ปฏิบัติวิชาได้อย่างถูกต้องทั้งหมดตามกาล"

วันอังคารที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2567

การอยู่ที่ควร ลักษณะของกิเลส

การอยู่ที่ควร
"การอยู่ที่ควร คือการอยู่อย่างมีอิสระอย่างถูกต้อง ไม่เป็นกิเลส มีวิชา อยู่ในแนวกลางหรือแนวบวก"

ลักษณะของกิเลส
"ลักษณะของกิเลส คือจะมาครบ หลายด้าน การละกิเลสจึงจะต้องตัดกิเลสให้ครบ หลายด้าน"

วันเสาร์ที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2567

ธรรมะหลัก

ธรรมะหลัก คือ
- ความถูก ธรรมะ
- ธรรมฝ่ายดีงาม
- วิชา
- ความไม่เบียดเบียน
- ความไม่เป็นกิเลส
- ทางสายกลาง

ธรรมะหลัก คือ การปฏิบัติความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม วิชา ไม่เบียดเบียนเลย ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง

ย่อ
ธรรมะหลัก คือ ความไม่เบียดเบียน ความไม่เป็นกิเลส
ตั้งหลักด้วยความไม่เบียดเบียน ความไม่เป็นกิเลส

การฝึกใช้ การใช้

"ควรฝึกใช้พื้นฐาน รูปธรรม อรูปหรือนามธรรม ธรรม อย่างเป็นธรรมะ เป็นความถูกความดี เหมาะสม เป็นวิชา ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"
"ควรใช้พื้นฐาน รูปธรรม อรูปหรือนามธรรม ธรรม อย่างเป็นธรรมะ เป็นความถูกความดี เหมาะสม เป็นวิชา ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"

วันศุกร์ที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2567

ให้ผ่านเกณฑ์ รู้จักหยุด รู้จักพอ รู้จักยับยั้ง รู้จักพัก รู้จักออกจาก เข้มแข็ง

ให้ผ่านเกณฑ์
"แต่ละคนควรปฏิบัติความถูกความดีให้ผ่านเกณฑ์ตามหลักธรรมะ ตามหลักวิชา ตามกฎของธรรมชาติ"
"ควรปฏิบัติความถูกความดีในแต่ละด้านให้ผ่านเกณฑ์ตามหลักธรรมะ ตามหลักวิชา ตามกฎของธรรมชาติ"

รู้จักหยุด รู้จักพอ รู้จักยับยั้ง รู้จักพัก รู้จักออกจาก
"ควรรู้จักหยุด รู้จักพอ รู้จักยับยั้ง รู้จักพัก รู้จักออกจาก อย่างเป็นความถูก เป็นธรรมะ เป็นธรรมฝ่ายดีงาม เป็นความดีงาม เป็นกลาง เป็นธรรม เป็นความตรง เป็นวิชา ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"

เข้มแข็ง
"มีความเข้มแข็งด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม การรู้จักหาเรียงทำสร้าง การรู้จักให้รู้จักรับ การรู้คุณแทนคุณ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความตรง ความจริง วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
สรุป
"มีความเข้มแข็งด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันอังคารที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2567

อิสระที่ไม่ควรมี ไม่ควรปฏิบัติ อิสระที่ควรมี ควรปฏิบัติ

อิสระที่ไม่ควรมี ไม่ควรปฏิบัติ
อิสระที่ไม่ควรมี ไม่ควรปฏิบัติ คือ อิสระทางอธรรม อิสระอย่างเบียดเบียน

อิสระที่ควรมี ควรปฏิบัติ
อิสระที่ควรมี ควรปฏิบัติ คือ
- อิสระอย่างเป็นความถูก เป็นธรรมะ
- อิสระอย่างเป็นธรรมฝ่ายดีงาม เป็นความดีงาม
- อิสระอย่างเป็นกลาง เป็นธรรม เป็นความตรง จริงใจ
- อิสระอย่างเป็นวิชา
- อิสระอย่างไม่เบียดเบียน
- อิสระอย่างไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส
- อิสระอย่างเป็นทางสายกลาง

บทความที่ได้รับความนิยม