วันเสาร์ที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2567

แรงบันดาลใจ ทักษะการมีความสุข

แรงบันดาลใจ
"สามารถมีแรงบันดาลใจที่ถูกที่ดีได้"

"มีแรงบันดาลใจ โดยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา การมีอิสระอย่างถูกต้องเพียงพอ ความไม่เป็นอธรรม ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"มีแรงบันดาลใจ โดยการรู้จักหาเรียงทำสร้างอย่างถูกต้อง การรู้จักให้ รู้จักรับ รู้จักใช้ รู้จักเก็บอย่างถูกต้อง การรู้คุณแทนคุณอย่างถูกต้อง ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความตรง ความจริง ความจริงใจ ความรอบคอบ ไม่ประมาท ความอดทน"

ทักษะการมีความสุข
ควรมีทักษะการมีความสุขอย่างถูกต้อง
- มีความสุขจากธรรมะ ธรรมฝ่ายดี วิชา ความไม่เป็นอธรรม ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง
- มีความสุขกับความถูกความดี สิ่งที่ถูกที่ดี
- เห็นคุณค่า มีความสุขกับสิ่งที่ตนเองมีอยู่
- มีความสุขกับปัจจุบัน
- มีความสุขจากการมองโลกในส่วนที่ดี ไม่ควรทุกข์จากการมองโลกในส่วนที่ไม่ดี

ไม่แทรกแซงขันธ์ การเกิดอธรรม

ไม่แทรกแซงขันธ์
"ไม่แทรกแซงขันธ์กัน"
"ควรปฏิบัติถูกปฏิบัติดี แล้วไม่แทรกแซงขันธ์กัน"

"การแทรกแซงขันธ์กันทำให้เกิดการเบียดเบียน ทำให้เกิดทุกข์"
"การไม่แทรกแซงขันธ์กันทำให้ไม่เบียดเบียนกัน ไม่รบกวนกัน มีความสงบสุข"

การเกิดอธรรม
"การเสพกิเลสสะสมไปเรื่อยๆ จะทำให้ก่อเกิดเป็นอธรรมขึ้นมา"
"อธรรมจะทำให้เกิดการเบียดเบียน เป็นทุกข์"

วันพุธที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2567

ขนาดของขันธ์ แรงขันธ์ เนื้อขันธ์ เชื่อมต่อ

ขนาดของขันธ์ แรงขันธ์ เนื้อขันธ์
"คนหรือสัตว์มีขนาดของขันธ์ที่จำกัด"
"คนทั่วไปจะมีขนาดขันธ์เท่ากัน"
"ไม่ควรเปลี่ยนแปลง แก้ไข เพิ่ม หรือลดขนาดของขันธ์ให้ผิดจากธรรมชาติ"
"แรงขันธ์จะขึ้นอยู่กับขนาดขันธ์"
"แรงขันธ์จะขึ้นอยู่กับเนื้อขันธ์"
"การออกแรงขันธ์หย่อนเกิน ตึงเกิน หรือเกินขีดจำกัด จะทำให้ทุกข์"
"ควรออกแรงขันธ์ อย่างถูกต้อง เป็นทางสายกลาง ไม่เกินขีดจำกัด"
"สามารถมองดูเนื้อขันธ์ของตนเอง ผู้อื่น หรือขันธ์อื่นๆ อย่างเป็นกลาง เป็นวิชา ไม่เบียดเบียน ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง เพื่อให้รู้ได้"
"คนแต่ละคนจะมีเนื้อขันธ์ที่แตกต่างกัน ไม่เหมือนกัน ยกเว้นเนื้อคู่แท้"
"ไม่ควรเปลี่ยนแปลง แก้ไข เพิ่ม หรือลดเนื้อขันธ์ให้ผิดจากธรรมชาติ"
"ไม่ควรใช้เนื้อขันธ์อย่างหย่อนเกิน ตึงเกิน หรือเกินขีดจำกัด"
"การใช้เนื้อขันธ์อย่างหย่อนเกิน ตึงเกิน หรือเกินขีดจำกัด จะทำให้ทุกข์"
"ควรใช้เนื้อขันธ์อย่างถูกต้อง เป็นธรรมะ เป็นธรรมฝ่ายดีงาม เป็นกลาง เป็นธรรม เป็นความตรง เป็นวิชา ไม่เบียดเบียน ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"

เชื่อมต่อ
"ไม่ควรเชื่อมต่อกับสิ่งที่ไม่ถูกไม่ดีเพื่อจะนำไปใช้หรือไปเก็บ ควรเชื่อมต่อกับสิ่งที่ถูกที่ดีอย่างมีขีดจำกัดแล้วนำไปใช้หรือไปเก็บ"
"ควรสร้างคลื่นสัญญาณที่ถูกที่ดีให้สิ่งต่างๆ โดยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ไม่ควรรับคลื่นสัญญาณที่ไม่ถูกไม่ดีจากสิ่งนั้นๆ ไปใช้หรือไปเก็บ ควรรับคลื่นสัญญาณที่ถูกที่ดีจากสิ่งนั้นๆ ไปใช้หรือไปเก็บ"
"การรับมือคลื่นสัญญาณที่ไม่ถูกไม่ดี ทำได้โดยการรับคลื่นสัญญาณที่ไม่ถูกไม่ดีมาเก็บข้อมูลเป็นรูปแบบคลื่นสัญญาณที่ถูก แล้วหาทางแก้ไขอย่างถูกต้อง"
"ไม่ควรเชื่อมต่อขันธ์ของตนกับขันธ์ของผู้อื่น"

วันอาทิตย์ที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2567

คิด ควบคุมขันธ์ กางออกมาดู

คิด ควบคุมขันธ์
"คิดโดยขันธ์ของตนเอง ควบคุมขันธ์เฉพาะของตนเอง โดยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ควรคิดโดยขันธ์ของตนเอง ควบคุมขันธ์เฉพาะของตนเอง เราไม่ควรคิดโดยขันธ์อื่น ไม่ควรควบคุมขันธ์อื่น"
"ไม่ควรให้ขันธ์อื่นมาคิดที่ขันธ์เรา ไม่ควรให้ขันธ์อื่นมาควบคุมขันธ์เรา"
ย่อ
"ไม่ควรแทรกแซงขันธ์อื่น ไม่ควรให้ขันธ์อื่นมาแทรกแซงขันธ์เรา"

กางออกมาดู
"กางออกมาดูขันธ์ของตนเอง ขันธ์อื่น หรือสิ่งอื่นในปัจจุบัน เพื่อให้รู้เหตุการณ์ สถานะ ข้อมูลในปัจจุบัน"
"กางออกมาดูตนเอง ผู้อื่น หรือสิ่งอื่นในอดีต เพื่อนำมาเปรียบเทียบกับปัจจุบัน ประเมินผล สรุปผลว่าพัฒนาดีขึ้นหรือไม่ดีขึ้น อย่างไร"
"กางออกมาดู อย่างเป็นความถูก เป็นกลาง เป็นวิชา ไม่เบียดเบียน ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"

วันพุธที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2567

ความสำคัญของวิชา สิ่งที่ไม่ควรมองข้าม

ความสำคัญของวิชา
"วิชามีความสำคัญมากต่อธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง ความคิด การตัดสินใจ การอยู่ และการแก้ปัญหา"
"วิชาเป็นพื้นฐานของธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"วิชามีความสำคัญมากต่อความถูกความดี"
"วิชามีความสำคัญมากต่อวิสัยทัศน์"
"วิชามีความสำคัญมากต่อโอกาส"
"วิชามีความสำคัญมากต่อทางที่จะเดินไปอย่างถูกต้อง วิชาเป็นแนวทางที่จะเดินไปอย่างถูกต้อง วิชาเป็นตัวนำทาง วิชาทำให้ไม่หลงทาง"
"วิชามีความสำคัญมากต่อการไม่เบียดเบียน"
"หากเรามีวิชาที่ถูกที่ดี แล้วนำไปใช้ จะทำให้เราอยู่ได้อย่างมีความสุข มีความเป็นปกติสุข แก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้อง ไม่พึ่งพาอธรรม"
"ควรใช้วิชาควบคู่ไปกับความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

สิ่งที่ไม่ควรมองข้าม
"สิ่งที่ไม่ควรมองข้าม คือ ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"สิ่งที่ไม่ควรมองข้าม คือ การรู้คุณแทนคุณอย่างถูกต้อง ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความตรง ความจริง ความจริงใจ"
"ไม่ควรมองข้ามความสำคัญ หนี้บุญคุณอย่างถูกต้อง"

วันอาทิตย์ที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2567

การปฏิบัติถูกกฎ โลกที่ควรเป็น

การปฏิบัติถูกกฎ
"ควรรู้กฎของความถูกความดี"
"ควรปฏิบัติถูกกฎของความถูกความดี อย่างไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"
"การปฏิบัติถูกกฎของความถูกความดี จะทำให้มีธรรมะ มีวิชาได้"
"การปฏิบัติถูกกฎของความถูกความดี จะทำให้มีความสุข สงบสุข เรียบร้อย ไม่เบียดเบียนได้"

โลกที่ควรเป็น
โลกที่ควรเป็น คือ
- โลกที่ไม่บังคับผู้อื่น อย่างเป็นปกติ
- โลกที่ไม่เบียดเบียน
- โลกกุศล
- โลกที่ปฏิบัติความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง
- โลกที่ปฏิบัติการให้อย่างถูกต้อง การรู้คุณแทนคุณอย่างถูกต้อง ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความตรง ความจริง ความจริงใจ

"ควรเข้าไปอยู่ในโลกกุศล"
"ควรน้อมนำ นำพากันเข้าไปอยู่ในโลกกุศล"
"คุณของการเข้าไปอยู่ในโลกกุศลคือมีความสุข สงบสุข ไม่ทุกข์จากอกุศล ไม่เบียดเบียน"
"เข้าไปยังโลกกุศล โดยการปฏิบัติความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"เข้าไปยังโลกกุศล โดยการปฏิบัติการให้อย่างถูกต้อง การรู้คุณแทนคุณอย่างถูกต้อง ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความตรง ความจริง ความจริงใจ ความรอบคอบ ไม่ประมาท ความอดทน"
"สามารถตั้งหลัก เติมพลังที่โลกกุศลได้"

การให้รวมถึงการให้ตนเองหรือให้ขันธ์อื่น

วันศุกร์ที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2567

อคติ กล้าหาญ

อคติ
อคติ คือ ลำเอียง เอาเปรียบ
อคติ ทำให้ใจขุ่น มัว มองไม่เห็นความจริง
ไม่มีอคติ จะทำให้ใจใส สะอาด ไม่ขุ่น ไม่มัว มองเห็นความจริง คิดด้วยเหตุผลได้

กล้าหาญ
"กล้าหาญ โดยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"กล้าหาญ โดยความมีสติ ปัญญา ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความตรง ความจริง ความรอบคอบ ไม่ประมาท ความอดทน"

ผ่านกระบวนการของขันธ์

"เราไม่ควรให้ตัวตั้งต้นเมื่อผ่านกระบวนการของขันธ์ แล้วได้ผลลัพธ์เป็นอธรรม ความผิดความไม่ดี กิเลสชนะออกมา
เราควรให้ตัวตั้งต้นเมื่อผ่านกระบวนการของขันธ์ แล้วได้ผลลัพธ์เป็นธรรมะ ความถูกความดี ความไม่เป็นกิเลสชนะออกมา"

วันพฤหัสบดีที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2567

เอาชนะอธรรม กิเลส เกี่ยวกับอธรรม กิเลส ไม่ควรกู้หรือผ่อนรูปนามแบบผิด

เอาชนะอธรรม กิเลส
"เราสามารถเอาชนะอธรรม กิเลส แล้วตัด ถอนอธรรม กิเลสที่ตัวเราได้"
"เราสามารถเอาชนะอธรรม กิเลส แล้วตัด ถอนอธรรม กิเลสที่ตัวเราให้ผู้อื่นสามารถเห็นได้"
"เราควรตัด ถอนอธรรม กิเลสเกี่ยวกับวิชาที่ตัวเรา"
"เราควรตัด ถอนอธรรม กิเลสเกี่ยวกับธรรมชาติที่ตัวเรา"

เกี่ยวกับอธรรม กิเลส
"อธรรม กิเลส เป็นต้นเหตุของปัญหา เป็นต้นตอของความทุกข์"

ไม่ควรกู้หรือผ่อนรูปนามแบบผิด
"ไม่ควรกู้หรือผ่อนรูปนามมาใช้ก่อนแบบผิด คือเป็นอธรรม เป็นวิชาที่ผิดที่ไม่ดี เป็นกิเลส หย่อนเกินหรือตึงเกิน
ควรหา เรียง ทำ สร้างรูปนามอย่างถูกต้อง เหมาะสม เพียงพอ เป็นวิชา ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง มาใช้หรือเก็บ"

วันอังคารที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2567

มีพลัง เติมพลัง สิ่งที่ทำให้ถูกต้องให้ดีได้ สิ่งที่ทำให้ผิดให้ไม่ดี

มีพลัง เติมพลัง
"มีพลัง เติมพลัง โดยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

สิ่งที่ทำให้ถูกต้องให้ดีได้ สิ่งที่ทำให้ผิดให้ไม่ดี
"สิ่งที่ทำให้ถูกต้องให้ดีได้ คือ ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"สิ่งที่ทำให้ผิดให้ไม่ดี คือ ความผิด อธรรม ธรรมฝ่ายไม่ดี ความไม่ดี ความไม่มีวิชา วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส ความหย่อนเกินหรือตึงเกิน"

วันอาทิตย์ที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2567

ถูกดีอยู่ได้

"เมื่อไม่ได้ ไม่มี ไม่เป็นดังหวัง ไม่สมหวัง ผิดหวัง ก็ถูกดีอยู่ได้"
"เมื่อถูกดีอยู่ได้แล้ว สามารถแก้ปัญหาด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

ถูกดี คือ ถูกหลักธรรม ถูกคลองธรรม ถูกหลักวิชา ถูกกฎของธรรมชาติ ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง

สิ่งที่ทำให้ปิด ไม่มี อยู่ไม่ได้ สิ่งที่ทำให้เปิด มี อยู่ได้

"สิ่งที่ทำให้ปิด ไม่มี อยู่ไม่ได้ คือความผิด อธรรม ธรรมฝ่ายไม่ดี ความไม่ดี ความไม่มีวิชา วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส ความหย่อนเกินหรือตึงเกิน"
"สิ่งที่ทำให้เปิด มี อยู่ได้อย่างถูกต้อง คือความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ควรรู้ว่าสิ่งไหนที่ทำให้ปิด ไม่มี อยู่ไม่ได้ สิ่งไหนที่ทำให้เปิด มี อยู่ได้ อย่างถูกต้องตามจริง แล้วปฏิบัติให้ถูกต้อง"
"ควรลดโอกาสที่ทำให้ปิด ควรเพิ่มโอกาสที่ทำให้เปิด อย่างถูกต้อง ไม่เป็นกิเลส"

วันเสาร์ที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2567

สาเหตุของการทำผิดทำไม่ดี สาเหตุของการทำถูกทำดี

สาเหตุของการทำผิดทำไม่ดี คือ
- อธรรม
- ความไม่เป็นกลาง ความไม่เป็นธรรม
- ปรับตัวอย่างถูกต้องไม่ได้
- การปฏิบัติผิดกฎของธรรมชาติ
- การขาด ขาดทุนธรรม รูป นาม ขาดความอดทน
- ขาดวิชา มีวิชาที่ผิดที่ไม่ดี ขาดความรู้
- กิเลส
- ความหย่อนเกิน หรือความตึงเกิน

สาเหตุของการทำถูกทำดี คือ
- ธรรมะ
- ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม
- ปรับตัวอย่างถูกต้องได้
- การปฏิบัติถูกกฎของธรรมชาติทั้งหมด
- กำไร หรือมีธรรม รูป นาม อย่างถูกต้อง เหมาะสม เพียงพอ มีความอดทน
- มีทักษะที่ถูกที่ดี มีวิชาที่ถูกที่ดี มีความรู้อย่างถูกต้อง
- ความไม่เป็นกิเลส
- ทางสายกลาง

ไม่ควรเสพติด

ไม่ควรเสพติด สิ่งเหล่านี้
- ความผิด อธรรม
- ความไม่มีวิชา วิชาที่ผิดที่ไม่ดี
- กิเลส
- ความหย่อนเกิน หรือความตึงเกิน
- รูปธาตุ นามธาตุ รูป นาม
- พื้นฐาน รูปธรรม อรูปหรือนามธรรม ธรรม
- สมบัติรูป สมบัตินาม หรือทรัพย์สมบัติ
- ชื่อเสียง หน้าตา เกียรติ ยศ อำนาจ วาสนา

ปรับตัว

"รู้จักการปรับตัวโดยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"รู้จักการปรับตัวโดยการมีจิตสำนึกที่ถูกที่ดี ความรับผิดชอบ การรู้จักหาเรียงทำสร้างอย่างถูกต้อง การรู้จักให้รู้จักรับอย่างถูกต้อง ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม การรู้คุณแทนคุณ ความตรง ความจริง ความจริงใจ ความเหมาะสม ความพอเหมาะ ความไม่ประมาท ความรอบคอบ ความอดทน อดกลั้น การรู้จักวางเฉย การรู้จักปล่อยวาง การรู้จักพัก การรู้จักออกจาก"
"ปรับตัวโดยการทำถูกกฎของธรรมชาติทั้งหมด"

วันพฤหัสบดีที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2567

ตั้งหลัก

"ตั้งหลัก โดยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เบียดเบียน ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ตั้งหลัก โดยความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความตรง ความจริง ความจริงใจ การรู้จักวางเฉย การรู้จักปล่อยวาง การรู้จักพัก การรู้จักออกจาก"

"ตั้งหลัก โดยการบันทึกได้อย่างถูกต้อง"
"ตั้งหลัก โดยมีจิตสำนึกที่ถูกที่ดี"
"ตั้งหลัก โดยมีความเห็นที่ถูกที่ดี"
"ตั้งหลัก โดยมีเจตนาที่ถูกที่ดี"
"ตั้งหลัก โดยความไม่เบียดเบียน"
"ตั้งหลัก โดยการปฏิบัติถูกกฎของธรรมชาติทั้งหมด"
"ตั้งหลัก โดยการปฏิบัติและคิดความถูกต้องได้"
"ตั้งหลัก โดยการปฏิบัติและคิดธรรมะได้อย่างถูกต้อง"
"ตั้งหลัก โดยการปฏิบัติและคิดธรรมฝ่ายดีงามได้อย่างถูกต้อง"
"ตั้งหลัก โดยการรู้และไม่ปฏิบัติอธรรมได้อย่างถูกต้อง"
"ตั้งหลัก โดยการชนะอธรรมอย่างถูกต้อง"
"การปฏิบัติและคิดธรรมะได้อย่างถูกต้องจะทำให้ชนะอธรรมได้"
"ตั้งหลัก โดยการคิดและปฏิบัติวิชาได้อย่างถูกต้อง"
"ตั้งหลัก โดยการคิด ศึกษาหาความรู้ได้อย่างถูกต้อง"
"ตั้งหลัก โดยมีความอดทน อดกลั้นอย่างถูกต้อง"
"ตั้งหลัก โดยการคิดและปฏิบัติความไม่เป็นกิเลสได้อย่างถูกต้อง"
"ตั้งหลัก โดยการรู้และปฏิบัติทางสายกลาง"

วันจันทร์ที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2567

ไม่ประมาท ไม่ติด ไม่ยึดติด ไม่ยึดมั่นถือมั่น พึ่ง พึ่งพา ใช้ คิด ปฏิบัติธรรมะ

ไม่ประมาท
"ไม่ประมาทในอธรรม ความผิดความไม่ดี ความไม่มีวิชา วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส ความหย่อนเกินหรือตึงเกิน"
"ไม่ประมาท อย่างถูกต้อง เป็นธรรมะ เป็นวิชา ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"

ย่อ
"ไม่ประมาทในกิเลส"

ไม่ติด ไม่ยึดติด ไม่ยึดมั่นถือมั่น
"ไม่ติด ไม่ยึดติด ไม่ยึดมั่นถือมั่นในอธรรม ความผิดความไม่ดี ความไม่มีวิชา วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส ความหย่อนเกินหรือตึงเกิน แล้วละสิ่งเหล่านี้"
"ไม่ติด ไม่ยึดติด ไม่ยึดมั่นถือมั่น อย่างถูกต้อง เป็นธรรมะ เป็นวิชา ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"

ย่อ
"ไม่ติด ไม่ยึดติด ไม่ยึดมั่นถือมั่นในกิเลส"

พึ่ง พึ่งพา ใช้
"ไม่ควรพึ่ง พึ่งพา ใช้อธรรม ความผิดความไม่ดี ความไม่มีวิชา วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส ความหย่อนเกินหรือตึงเกิน ควรละสิ่งเหล่านี้"
"ควรพึ่ง พึ่งพา ใช้ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความถูกความดี วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ควรพึ่ง พึ่งพา ใช้ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความตรง ความจริง ความจริงใจ การรู้จักวางเฉย การรู้จักปล่อยวาง การรู้จักพัก การรู้จักออกจาก"

คิด ปฏิบัติธรรมะ
"ธรรมะ จะต้องปฏิบัติไปด้วยคิดไปด้วย"

วันอาทิตย์ที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2567

ยืนยันตัวตนของเรา การอยู่

ยืนยันตัวตนของเรา
ยืนยันตัวตนของเรา โดย
- ตนเองให้ไป คือ ซื่อสัตย์ ซื่อตรง สุจริต มีขีดจำกัดที่ถูกต้อง
- ธรรมชาติให้ไป คือ ทำความถูกความดี จนธรรมชาติให้ไป
- ผู้อื่นให้ไป คือ ทำความถูกความดี จนผู้อื่นให้ไป

การอยู่
"การอยู่ ควรปฏิบัติความถูกความดี ความไม่เป็นกิเลส จะทำให้ธรรมชาติฝ่ายที่ถูกที่ดีให้ไป"
"การที่ธรรมชาติฝ่ายที่ถูกที่ดีให้ไป จะทำให้สงบสุข เรียบร้อยได้"

วันเสาร์ที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2567

ขีดจำกัด

"ขีดจำกัด ดูจากหลักวิชา ดูจากกฎของธรรมชาติ"
"เราควรมีขีดจำกัดในด้านต่างๆ อย่างถูกต้องตามหลักวิชา ตามกฎของธรรมชาติ ไม่น้อยเกินหรือไม่มากเกิน"
"หากเรากระทำอยู่ แล้วมีบางจุดเกินขีดจำกัด เราสามารถพักจุดที่เกินขีดจำกัด ไปทำจุดที่ไม่เกินขีดจำกัดต่อได้ หากไม่เกินขีดจำกัดแล้ว ก็สามารถกลับมาทำจุดนั้นๆ ต่อได้"
"หากเรากระทำ โดยมีจุดที่เกินขีดจำกัด เราสามารถพักจุดนั้นๆ แล้วใช้จุดที่ไม่เกินขีดจำกัดมาประยุกต์ใช้แทนจุดที่เกินขีดจำกัดตามหลักวิชาไปก่อนได้"

บทความที่ได้รับความนิยม