วันเสาร์ที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2567

กฎของธรรมชาติ

"กฎของธรรมชาติมีอยู่มากมายหลากหลายด้าน ควรทำถูกกฎของธรรมชาติทั้งหมด"
"ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง เป็นส่วนหนึ่งของกฎของธรรมชาติ"

วันศุกร์ที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2567

เป็นขันธ์ที่มีคุณค่า แบ่งเวลา คุณค่าของสิ่งต่างๆ

เป็นขันธ์ที่มีคุณค่า
"ควรทำให้เป็นขันธ์ที่มีคุณค่า ไม่เปื้อนราคะ ราคี"

แบ่งเวลา
"ควรมีเวลา แบ่งเวลาให้ธรรมะ ความรู้ วิชาต่างๆ อย่างเหมาะสม"
"ควรมีเวลาคิดธรรมะ วิจัยธรรมะอย่างเหมาะสม"
"ควรมีเวลาคิดความรู้ วิจัยความรู้อย่างเหมาะสม"
"ควรมีเวลาคิดวิชา วิจัยวิชาอย่างเหมาะสม"

คุณค่าของสิ่งต่างๆ
"ไม่ควรมองข้าม หรือละเลยคุณค่าของสิ่งต่างๆ ควรมองเห็นคุณค่าของสิ่งต่างๆ ทั้งรูปและนาม แล้วนำไปใช้อย่างถูกต้อง เหมาะสม"

วันพฤหัสบดีที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2567

หลักปฏิบัติ

หลักปฏิบัติ คือ
- ไม่ลำเอียง ไม่เอาเปรียบ ไม่เห็นแก่ตัว
- เป็นกลาง เป็นธรรม จริงใจ

วันอังคารที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2567

การหา เติมความมี

"ควรหาความมีให้ตนเองหรือผู้อื่น อย่างเป็นความถูก เป็นธรรมะ เป็นธรรมฝ่ายดีงาม เป็นความดีงาม เป็นกลาง เป็นธรรม พอเหมาะ เป็นความตรง จริงใจ เป็นวิชา ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง เพื่อนำไปใช้หรือเก็บ"
"สามารถเติมความมีให้ผู้อื่น อย่างเป็นความถูก เป็นธรรมะ เป็นธรรมฝ่ายดีงาม เป็นความดีงาม เป็นกลาง เป็นธรรม พอเหมาะ เป็นความตรง จริงใจ เป็นวิชา ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"

วันอาทิตย์ที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2567

เติมให้ความมี เติมให้ความไม่มี

"ในการทำหรือใช้ควรเติมให้ความมี อย่างเป็นความถูก เป็นธรรมะ เป็นธรรมฝ่ายดีงาม เป็นความดีงาม เป็นวิชา ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"
"ไม่ควรเติมให้ความไม่มีอย่างเป็นความผิด เป็นอธรรม เป็นวิชาที่ผิดที่ไม่ดี เป็นกิเลส ไม่เป็นทางสายกลาง"

วันศุกร์ที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2567

อยาก อยากได้ กฎที่ถูกที่ดี

อยาก อยากได้
"ไม่ควรอยากอย่างเป็นความผิด อธรรม วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส"
"ไม่ควรอยากได้อย่างเป็นความผิด อธรรม วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส"

กฎที่ถูกที่ดี
"การฝึกตน ควรรู้กฎที่ถูกที่ดี ทำถูกกฎที่ถูกที่ดี"
"ควรทำถูกทั้งกฎของธรรมชาติ กฎของธรรมะ กฎของความถูกความดี กฎของวิชา กฎที่ถูกที่ดี"
"ควรทำถูกกฎที่ถูกต้องที่ดีทุกกฎ แล้วทำให้เป็นธรรมต่อตนเองหรือผู้อื่น"

วันพุธที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2567

สมบัติรูป สมบัตินามที่ถูกรูป

"ควรใช้สมบัติรูป สมบัตินามที่ถูกรูป ไม่ควรใช้สมบัติรูป สมบัตินามที่ผิดรูป"
"สมบัติรูป สมบัตินามที่ถูกรูป เป็นสมบัติที่หา เรียง ทำ สร้างด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"สมบัติรูป สมบัตินามที่ผิดรูป เป็นสมบัติที่ได้มาจากความผิด อธรรม วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส"
"การใช้สมบัติรูป สมบัตินามที่ถูกรูป จะทำให้ไม่ทุกข์ ไม่ไปทำผิดทำไม่ดีได้"
"การใช้สมบัติรูป สมบัตินามที่ผิดรูป จะทำให้เป็นทุกข์ เป็นสาเหตุที่ทำให้ไปทำผิดทำไม่ดีได้"

วันจันทร์ที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2567

ไม่ควรก่อแผลหรือก่อแผลเป็น

"ไม่ควรก่อแผล ก่อแผลเป็นให้กับโลกหรือผู้อื่น"
"การก่อแผล ก่อแผลเป็นให้กับโลกหรือผู้อื่น ทำให้ผู้ที่กระทำอาจจะต้องชดใช้กรรม ชดใช้หนี้ในภายหลัง เพื่อให้แผลเป็นหาย"

วันอาทิตย์ที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2567

ได้คะแนน

"ควรคิด พูด สื่อ กระทำ เพียร พยายาม หรืออดทน แล้วได้คะแนนความถูกความดีเพิ่มขึ้น
ไม่ควรคิด พูด สื่อ กระทำ เพียร พยายาม หรืออดทน แล้วได้คะแนนความผิดความไม่ดีเพิ่มขึ้น"

วันอังคารที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2567

วันจันทร์ที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2567

ธรรมะหลัก ธรรมฝ่ายดีงาม

ธรรมะหลัก ๔ ข้อ คือ
- ความถูก ธรรมะ ศีล สติ สัมปชัญญะ สมาธิ ปัญญา ความว่าง ทางสายกลาง
- ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม
- วิชา
- ความไม่มีกิเลส มีความสุข แก้ปัญหา อย่างถูกต้อง

ธรรมะหลัก ๔ เป็นธรรมที่ทำให้ถูก ดี ได้ดี ไม่ได้ไม่ดี มีความสุขอย่างถูกต้อง ไม่ทุกข์ได้
ธรรมะหลัก ๔ เป็นธรรมที่ทำให้เป็นอิสระได้
ธรรมะหลัก ๔ เป็นทางเจริญ รุ่งเรือง
ธรรมะหลัก ๔ เป็นธรรมที่ทำให้ชนะ
ธรรมะหลัก ๔ เป็นธรรมที่ทำให้สงบสุข เรียบร้อยได้
ธรรมะหลัก ๔ เป็นสิ่งที่คุ้มครองผู้ปฏิบัติได้
ควรเก็บธรรมะหลัก ๔ เอาไว้ในใจ เพื่อนำไปปฏิบัติ จะทำให้ดีขึ้นได้
ไม่เป็นแนวติดลบ เป็นแนวศูนย์ หรือเป็นแนวติดบวก ได้โดยธรรมะหลัก ๔

ธรรมะหลัก หรือ ธรรมฝ่ายดีงาม ๒๕ ข้อ คือ
- ความถูก ศีล สติ สัมปชัญญะ สมาธิ ปัญญา ความว่าง ทางสายกลาง
- ทักษะที่ถูกที่ดี วิชาที่ถูกที่ดี ไม่เป็นกิเลส
- จิตสำนึกที่ถูกที่ดี ความเห็นที่ถูกที่ดี เจตนาที่ถูกที่ดี เก็บ สะสมธรรมะ ความถูกความดี ความไม่เป็นกิเลส ไม่สะสมความผิดความไม่ดี หรือกิเลส
- ความคิดที่ถูกที่ดี ตั้งจิตปรารถนาที่ถูกที่ดี ความปรารถนาดี การตัดสินใจ การตัดสินใจเองอย่างถูกต้อง
- การเจรจาที่ถูกที่ดี สนทนาธรรมอย่างเหมาะสมตามกาล
- ความประพฤติที่ถูกที่ดี การปฏิบัติที่ถูกที่ดี สุจริต การช่วยเหลือ พึ่งพาตนเอง อย่างถูกต้อง การช่วยเหลือผู้อื่น อย่างถูกต้อง
- ความไม่เบียดเบียน การไม่รับสิ่งตอบแทนจากการปฏิบัติกิเลส
- ความเพียร พยายามที่ถูกที่ดี ความมุ่งมั่นที่ถูกที่ดี ความไม่ประมาท รอบคอบ
- ความตั้งจิตมั่นปรารถนาที่ถูกที่ดี ความตั้งมั่นที่ถูกที่ดี ตั้งจิตไว้ที่ถูกที่ดี ไม่ตั้งจิตไว้ที่ผิดที่ไม่ดี
- การเรียงความสำคัญถูกต้อง ถูกอันดับ ถูกลำดับ การเรียงถูกต้อง ถูกเนื้อนาม ถูกลำดับ เป็นระเบียบ
- ความเข้มแข็ง ความอดทนในความถูกความดีหรือในการกระทำความถูกความดี ฝืน อดทนอดกลั้นต่อความยากลำบากในทางที่ถูกที่ดี
- ความเหมาะสม พอเหมาะ พอดี มีจังหวะที่ถูกที่ดี รู้จักผ่อนหนักผ่อนเบา รู้จักพอ ความไม่มากเกิน ไม่น้อยเกิน ไม่เกินขอบเขตจำกัด ไม่เกินขีดจำกัด รู้จักประหยัด มัธยัสถ์ ทันเวลาที่จำกัด มีความสมดุลอย่างถูกต้อง
- ตั้งค่า ปรับค่าต่างๆ จัดสัดส่วนต่างๆ แบ่งกลุ่ม อย่างถูกต้อง เหมาะสม การจัดสัดส่วนต่างๆ ของขันธ์ การรู้จักปรับตัว อย่างถูกต้อง
- ความสม่ำเสมอ เสมอต้นเสมอปลาย อย่างถูกต้อง
- การรู้จักให้รู้จักรับ รู้จักแบ่งปัน การรู้จักสละ อย่างถูกต้อง
- การรู้จักหยุด รู้จักยับยั้ง การรู้จักพัก การรู้จักออกจาก
- การรู้จักบันทึก รู้จักเก็บบันทึก
- การรู้จักวางเฉย รู้จักปล่อยวาง ละวาง ไม่ยึดติด ไม่ยึดมั่นถือมั่น
- ความเป็นกลางในสภาวธรรม ความเป็นกลาง
- ความเป็นธรรม
- การรู้คุณแทนคุณ อย่างถูกต้อง
- ความตรง
- สัจจะ ความจริง จริงใจ
- ความอิสระ อย่างถูกต้อง
- ความไม่เป็นกิเลส ความไม่มีกิเลส มีความสุข แก้ปัญหา อย่างถูกต้อง

ธรรมะหลัก ธรรมฝ่ายดีงาม เป็นบารมีที่ถูกที่ดี
ธรรมะหลัก ธรรมฝ่ายดีงาม เป็นธรรมที่ทำให้มีแรง มีพลัง มีกำลังเพียงพอ
ธรรมะหลัก เป็นสิ่งที่คุ้มครองผู้ปฏิบัติได้

ธรรมฝ่ายดีงาม

- ความถูก
- ธรรมะ
- ความดี ความดีงาม
- คุณธรรม
- ทำคุณงามความดี มีคุณงามความดี
- จริยธรรม
- ความยุติธรรม
- ความเที่ยงธรรม
- ความเที่ยงตรง
- ความเถนตรง
- สุจริต
- ซื่อสัตย์
- ซื่อตรง
- ไม่ทำผิดไม่ทำชั่ว
- ทำถูกทำดี
- ทำจิตใจให้สะอาด บริสุทธิ์ ผ่องใส เป็นอิสระอย่างถูกต้อง
- มีจิตใจที่งดงาม
- ธรรมวิจัย คือ การเฟ้น หรือการเลือกเฟ้นธรรมะมาใช้ได้อย่างถูกต้อง ในเหตุการณ์หรือการกระทำต่างๆ
- ความผ่อนคลาย ไม่กระสับกระส่าย ไม่เครียด อย่างถูกต้อง ไม่เป็นกิเลส
- ปีติ คือ ความอิ่มใจ อย่างถูกต้อง ไม่เป็นกิเลส
- สดใส ร่าเริง อย่างถูกต้อง
- เบิกบาน
- มีแรงผลักดัน แรงบันดาลใจ อย่างเป็นฝ่ายธรรมะ เป็นความถูกต้องความดี ไม่เป็นกิเลส
- กระทำให้เป็นแนวบวก
- ตั้งค่า ปรับค่าต่างๆ อย่างถูกต้อง เหมาะสม
- ถูกกฎของธรรมะ ถูกกฎของการกระทำ ถูกกฎของวิชา ถูกกฎที่ถูกที่ดี
- ถูกกฎของธรรมชาติ
- การให้ธรรมชาติอนุญาต อนุมัติ อย่างถูกต้อง
- รู้จักใช้ระบบเปิด ระบบปิด ตามกาล อย่างถูกต้อง
- ทิ้งความผิดความไม่ด สละความผิดความไม่ดี ทิ้งวิชาที่ผิดที่ไม่ดี
- มีแรงใจ พลังใจ อย่างถูกต้อง
- มีกำลังใจ ให้กำลังใจตนเอง อย่างถูกต้อง
- ให้กำลังใจ อย่างถูกต้อง
- มี ใช้แรงขันธ์ อย่างถูกต้อง มีขีดจำกัด
- จำแนก แบ่ง แยก แยกส่วน อย่างถูกต้อง
- เว้นช่องไฟทางนาม อย่างถูกต้อง
- การมีมุมมองที่ถูกที่ดี ด้วยวิชา มองตามความจริง
- การคิด พูด สื่อ กระทำ เป็นหลายมิติ เป็นหลายด้าน เป็นหลายมุมมอง อย่างถูกต้อง
- ความไตร่ตรอง ความพิจารณา อย่างถูกต้อง
- การเชื่อ อย่างถูกต้อง
- ตั้งหลัก อย่างถูกต้อง
- คิด ปรารถนา ปฏิบัติให้ตนถูก ดี ได้ดี มีความสุข
- คิด ปรารถนา ปฏิบัติให้ผู้อื่นถูก ดี ได้ดี มีความสุข
- เข้มงวด เคร่งครัด อย่างถูกต้อง
- มีวินัย อย่างถูกต้อง
- กล้าในการกระทำความถูกความดี
- กล้า กล้าหาญ เข้มแข็ง สู้ อดทน อย่างถูกต้อง
- สร้างเหตุที่ถูกที่ดี
- มีเหตุผล
- รู้เหตุ
- รู้ผล
- รู้ตน
- รู้จักการกะ ประมาณ อย่างถูกต้อง
- รู้จักกาล รู้เวลา รู้กาล รู้กาลเทศะ
- รู้ชุมชน รู้ที่ประชุม
- รู้บุคคล
- เข้าใจ อย่างถูกต้อง
- เปรียบเทียบ อย่างถูกต้อง ไม่เป็นกิเลส
- รู้จักการแก้ไข ปรับปรุง อย่างถูกต้อง
- รู้ในหน้าที่ ปฏิบัติหน้าที่ รับผิดชอบในหน้าที่ของตน อย่างถูกต้อง
- มีความรับผิดชอบในความผิดพลาดของตนเอง อย่างถูกต้อง
- รู้จักการปรับแต่ง อย่างถูกต้อง
- รักษา อย่างถูกต้อง
- รักษาตนเอง อย่างถูกต้อง
- รักษาผู้อื่น อย่างถูกต้อง
- ซ่อมแซม รักษาขันธ์ของตนเอง อย่าถูกต้อง
- ซ่อมแซม รักษาขันธ์ของผู้อื่น อย่างถูกต้อง
- ฟื้นฟู อย่างถูกต้อง
- ฟื้นคืน นำมาใช้ต่อ กู้คืน นำกลับมาใช้ใหม่ อย่างถูกต้อง
- ใช้กันชนต่อขันธ์ หรือรูปนาม อย่างถูกต้อง
- มีความระมัดระวัง อย่างถูกต้อง
- มีขอบเขตจำกัด มีขีดจำกัด อย่างถูกต้อง ตามหลักธรรม ตามหลักวิชา ตามกฎของธรรมชาติ ตามกาล
- การเลือก อย่างถูกต้อง
- การตัดสินใจ การตัดสินใจเอง อย่างถูกต้อง
- มีความยั้งคิด ยับยั้งชั่งใจ อย่างถูกต้อง
- เคารพ นับถือ อย่างถูกต้อง
- มีความสำรวม อย่างถูกต้อง
- สุภาพ เรียบร้อย
- มีมารยาท
- มีความนอบน้อมต่อธรรมะ ความถูกความดี ความไม่เป็นกิเลส
- มีความอ่อนน้อมต่อธรรมะ ความถูกความดี ความไม่เป็นกิเลส
- มีความนอบน้อม อย่างถูกต้อง
- มีความอ่อนน้อม อย่างถูกต้อง
- ให้เกียรติตนเอง อย่างถูกต้อง
- ให้เกียรติผู้อื่น อย่างถูกต้อง
- ยินดีในความถูกความดีของผู้อื่น
- ยินดีเมื่อผู้อื่นได้ดีมีความสุข
- โอบอ้อม อารี อย่างถูกต้อง
- รักษาจิตใจ อย่างถูกต้อง
- รักษาจิตใจตน อย่างถูกต้อง
- รักษาจิตใจผู้อื่น อย่างถูกต้อง
- รักษาจิตใจกัน อย่างถูกต้อง
- การรู้จักอภัยให้ ทั้งตนเองหรือผู้อื่น อย่างถูกต้อง
- มีน้ำใจ เอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่ อย่างถูกต้อง
- อุดหนุน จุนเจือ เกื้อกูล อย่างถูกต้อง
- สามัคคี ปรองดองกัน อย่างถูกต้อง
- มีความเป็นกัลยาณมิตรกัน
- มีไมตรี
- มีเป้าหมายเป็นความถูก ทำเพื่อความถูก
- เข้าหาความถูก ธรรมะ ความไม่เป็นกิเลส
- พึ่งพาความถูก
- พึ่งพาธรรมะ
- พึ่งพาตนเอง อย่างถูกต้อง
- พึ่งพาอาศัยกัน อย่างถูกต้อง
- ชี้นำ อย่างถูกต้อง
- น้อมนำ นำพาตนเอง อย่างถูกต้อง
- น้อมนำ นำพาผู้อื่น อย่างถูกต้อง
- ช่วยเหลือตนเอง อย่างถูกต้อง
- ช่วยเหลือผู้อื่น อย่างถูกต้อง
- ประคับประคองตนเอง อย่างถูกต้อง
- ประคับประคองผู้อื่น อย่างถูกต้อง
- สนับสนุน อย่างถูกต้อง
- ส่งเสริม อย่างถูกต้อง
- เชิดชู อย่างถูกต้อง
- ค้ำชู อย่างถูกต้อง
- บอก เตือน เพื่อไม่ให้ผิดพลาด
- ปกป้อง อย่างถูกต้อง
- ป้องกัน อย่างถูกต้อง
- สะท้อน อย่างถูกต้อง
- ประสาน อย่างถูกต้อง
- การบังคับ ควบคุมตนเองให้ถูกต้อง ให้ดี
- การควบคุม อย่างถูกต้อง
- การข่มใจ อย่างถูกต้อง
- การอดกลั้น อย่างถูกต้อง
- การเรียนรู้ อย่างถูกต้อง
- การฝึก อย่างถูกต้อง
- สังเกต อย่างถูกต้อง
- สื่อ ฟัง พูด อ่าน เขียน อย่างถูกต้อง
- จำ อย่างถูกต้อง
- รู้ค่า รู้คุณค่า รู้ประโยชน์
- คิด พูด สื่อ กระทำให้มีค่า มีคุณค่า มีประโยชน์ อย่างถูกต้อง
- มีสาระ คิด พูด สื่อ กระทำอย่างมีสาระ
- มีแก่นสาร อย่างถูกต้อง
- การสร้างสรรค์ อย่างถูกต้อง
- รู้ อย่างถูกต้อง
- มีความรู้ มีความรู้รอบ อย่างถูกต้อง
- มีระบบ แบบแผน อย่างถูกต้อง
- มีแผน การวางแผน ปฏิบัติตามแผน อย่างถูกต้อง
- วิเคราะห์ อย่างถูกต้อง
- การบริหาร อย่างถูกต้อง
- การจัดการ อย่างถูกต้อง
- สรุป อย่างถูกต้อง
- การจัดรูปแบบ อย่างถูกต้อง
- การจัด จัดสัดส่วน อย่างถูกต้อง
- จัดกลุ่ม จัดหมวดหมู่ แบ่งกลุ่ม อย่างถูกต้อง
- การจับ จับได้ อย่างถูกต้อง
- การจอง อย่างถูกต้อง
- หาโอกาส คว้าโอกาส กู้คืนโอกาส คว้าโอกาสคืน ซ่อมแซมโอกาส รักษาโอกาส ใช้โอกาส อย่างถูกต้อง
- การหา เรียง ทำ สร้าง อย่างถูกต้อง
- การรับ อย่างถูกต้อง การรับจากความถูกความดี การรับจากเหตุที่ถูกที่ดี
- ใช้อย่างเหมาะสม ถูกต้อง ถูกหลักธรรม ถูกหลักวิชา ถูกกฎของธรรมชาติ มีคุณค่า มีประโยชน์ ไม่ฟุ่มเฟือย ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง
- รู้จักการเก็บ สะสม อย่างถูกต้อง พอเหมาะ ไม่เป็นกิเลส เพื่อให้สามารถนำมาใช้ได้ในยามจำเป็น
- ซ่อม ซ่อมแซม
- พัฒนา อย่างถูกต้อง
- ชำนาญ เชี่ยวชาญ อย่างถูกต้อง
- แม่นยำ อย่างถูกต้อง
- อุดช่องโหว่ อย่างถูกต้อง ไม่เจาะระบบอย่างเป็นกิเลส ไม่ถูกเจาะระบบอย่างเป็นกิเลส
- แก้ปัญหาในการอยู่ อย่างถูกต้อง เป็นวิชา ไม่เป็นกิเลส
- ช่วยกันแก้ปัญหาในการอยู่ อย่างถูกต้อง เป็นวิชา ไม่เป็นกิเลส
- เติมเต็ม อย่างถูกต้อง ไม่เป็นกิเลส
- มีความมั่นคง สม่ำเสมอ เสมอต้นเสมอปลายในความถูกความดี
- ศีล สติ สัมปชัญญะ สมาธิ ปัญญา ความว่าง ทางสายกลาง
- ทักษะที่ถูกที่ดี วิชาที่ถูกที่ดี ไม่เป็นกิเลส
- จิตสำนึกที่ถูกที่ดี ความเห็นที่ถูกที่ดี เจตนาที่ถูกที่ดี เก็บ สะสมธรรมะ ความถูกความดี ความไม่เป็นกิเลส ไม่สะสมความผิดความไม่ดี หรือกิเลส
- ความคิดที่ถูกที่ดี ตั้งจิตปรารถนาที่ถูกที่ดี ความปรารถนาดี
- การเจรจาที่ถูกที่ดี สนทนาธรรมอย่างเหมาะสมตามกาล
- ความประพฤติที่ถูกที่ดี การปฏิบัติที่ถูกที่ดี
- ความไม่เบียดเบียน การไม่รับสิ่งตอบแทนจากการปฏิบัติกิเลส
- ความเพียร พยายามที่ถูกที่ดี ความมุ่งมั่นที่ถูกที่ดี ความไม่ประมาท รอบคอบ
- ความตั้งจิตมั่นปรารถนาที่ถูกที่ดี ความตั้งมั่นที่ถูกที่ดี ตั้งจิตไว้ที่ถูกที่ดี ไม่ตั้งจิตไว้ที่ผิดที่ไม่ดี
- การเรียงความสำคัญถูกต้อง ถูกอันดับ ถูกลำดับ การเรียงถูกต้อง ถูกเนื้อนาม ถูกลำดับ เป็นระเบียบ
- ความเข้มแข็ง ความอดทนในความถูกความดีหรือในการกระทำความถูกความดี ฝืน อดทนอดกลั้นต่อความยากลำบากในทางที่ถูกที่ดี
- ความเหมาะสม พอเหมาะ พอดี มีจังหวะที่ถูกที่ดี รู้จักผ่อนหนักผ่อนเบา รู้จักพอ ความไม่มากเกิน ไม่น้อยเกิน ไม่เกินขอบเขตจำกัด ไม่เกินขีดจำกัด รู้จักประหยัด มัธยัสถ์ ทันเวลาที่จำกัด มีความสมดุลอย่างถูกต้อง
- การจัดสัดส่วนต่างๆ ของขันธ์ การรู้จักปรับตัว อย่างถูกต้อง
- ความสม่ำเสมอ เสมอต้นเสมอปลาย อย่างถูกต้อง
- การรู้จักให้รู้จักรับ รู้จักแบ่งปัน การรู้จักสละ อย่างถูกต้อง
- การรู้จักหยุด รู้จักยับยั้ง การรู้จักพัก การรู้จักออกจาก
- การรู้จักบันทึก รู้จักเก็บบันทึก
- การรู้จักวางเฉย รู้จักปล่อยวาง ละวาง ไม่ยึดติด ไม่ยึดมั่นถือมั่น
- ความเป็นกลางในสภาวธรรม ความเป็นกลาง
- ความเป็นธรรม
- การรู้คุณแทนคุณ อย่างถูกต้อง
- ความตรง
- สัจจะ ความจริง จริงใจ
- ไม่หลง ไม่มัวเมา
- ไม่อาลัย ไม่เศร้า ไม่หดหู่
- ไม่เสียดายอย่างเป็นกิเลส
- การไม่ยอมทำตาม หรือมีใจไม่ยอมอยู่ใต้อำนาจความผิดความไม่ดี กิเลส
- การไม่พึงพอใจ ไม่ปรารถนาในกิเลส
- การไม่เข้าหา ยึด ติด พึ่ง พึ่งพา ใช้กิเลส
- การฝืน อดทนอดกลั้นต่อกิเลส การบีบบังคับของกิเลส แนวลบอย่างเป็นกิเลส
- การเว้นกิเลส
- การไม่คิด พูด สื่อ ปฏิบัติอย่างเป็นกิเลส
- ทิ้งกิเลส สละกิเลส
- การตัดกิเลส
- ความไม่เป็นกิเลส
- ถอนกิเลส
- เป็นไทจากกิเลส
- ความอิสระ อย่างถูกต้อง
- ประสบความสำเร็จ สมหวัง อย่างถูกต้อง ไม่เป็นกิเลส
- มีความสุข อย่างถูกต้อง ไม่เป็นกิเลส
- มีความสุขในธรรม อย่างถูกต้อง ไม่เป็นกิเลส
- มีความสงบ อย่างถูกต้อง ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง
- ไม่มีกิเลส แก้ปัญหา อย่างถูกต้อง

ถูกต้อง คือ ถูกหลักธรรม ถูกคลองธรรม ถูกหลักวิชา

สิ่งไม่ควรปฏิบัติ ควรตัด ควรถอน

การไม่ปฏิบัติ ตัด ถอนสิ่งเหล่านี้ ทำให้ไม่เป็นกิเลสได้ ทำให้สงบสุข เรียบร้อยได้
สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งไม่ควรปฏิบัติ ควรตัด ควรถอน อย่างเป็นทางสายกลาง
- กาย อย่างเป็นกิเลส
- ความลังเลในธรรมะหรือความถูกความดี ความเห็นผิด
- การกระทำผิดจากเป้าหมายที่แท้จริงที่ถูกที่ดี การมีความสุขในทางที่ผิดที่ไม่ดีหรือเป็นกิเลส

- การใช้พื้นฐาน ทางรูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส รับรู้ทางใจ อย่างเป็นกิเลส
- ความไม่พอใจ ขัดใจ ความขัดเคืองใจ ความขุ่นข้องหมองใจ ความกระทบกระทั่งในใจ อย่างเป็นกิเลส

- การใช้รูปหรือรูปธรรม อย่างเป็นกิเลส รูปในที่นี้หมายถึงรูปที่ไม่เป็นไปในทางพื้นฐานเลย
- การใช้อรูปหรือนามธรรม อย่างเป็นกิเลส
- ตัวตนอย่างเป็นกิเลส ความรู้สึกที่เป็นไปในตนเอง คุณสมบัติของตน แข่ง เปรียบเทียบ อย่างเป็นกิเลส
- ขาดสติ ขาดสัมปชัญญะ ขาดสมาธิ ความกระเพื่อมฟุ้งของจิต อย่างเป็นกิเลส
- การใช้ธรรม อย่างเป็นกิเลส
- การเรียงผิด ผิดเนื้อนาม ผิดลำดับจากหลักวิชาหรือกฎของธรรมชาติ
- การใช้ขันธ์ อย่างเป็นกิเลส คือ ใช้รูปขันธ์ เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อย่างเป็นกิเลส
- ขาดความถูกต้อง ขาดธรรมะ ขาดธรรมฝ่ายดีงาม ขาดวิชา ขาดทางสายกลาง ความผิด แก้ปัญหาด้วยความผิด
- ความไม่มีวิชา มีหรือใช้ทักษะ วิชา อย่างเป็นกิเลส

วันศุกร์ที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2567

ชิงโอกาส มีอย่างเป็นปกติ

ชิงโอกาส
"ควรชิงโอกาสให้ชนะ ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความตรง วิชา ความไม่เป็นอธรรม ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง แล้วนำโอกาสมาใช้อย่างถูกต้อง"

มีอย่างเป็นปกติ
"ควรมีความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง อย่างเป็นปกติ"
"ควรรักษาให้มีความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง อย่างเป็นปกติ"
"ควรมีความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความตรงอย่างเป็นปกติ"
"ควรรักษาให้มีความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความตรงอย่างเป็นปกติ"

วันจันทร์ที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2567

หมายเอาไว้

"เราควรหมายตำแหน่งต่างๆ ของขันธ์ตนเอง ของขันธ์อื่น ของรูปนามต่างๆ ที่เสื่อม ที่เสีย ที่ผิด ที่ไม่ดี ที่มีปัญหา หรือที่เป็นกิเลส อย่างเป็นกลาง แล้วรักษาความปลอดภัยเอาไว้ ค่อยๆ แก้ปัญหา แก้ไขให้ถูกต้อง ด้วยวิชา ควรกระทำอย่างเป็นทางสายกลาง"
"การหมายที่ผิดที่ไม่ดีเอาไว้ แล้วแก้ปัญหาอย่างถูกต้อง จะทำให้เราไม่ไปกระทำผิดกระทำไม่ดีได้ จะทำให้เรากระทำถูกกระทำดีได้"
"หากเราหมายเอาไว้ผิด สามารถแก้ไขการหมายให้ถูกต้องได้"
"หากมีการหมายมาก สามารถหมายอย่างคร่าวๆ ไปก่อน แล้วกลับมาหมายรายละเอียดทีหลังได้ อย่างเป็นทางสายกลาง"
"ควรปรับปรุงการหมายให้เป็นปัจจุบัน"

วันพุธที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2567

คู่ สิ่งที่มีอำนาจมาก

คู่
"สิ่งต่างๆ จะมีคู่ของสิ่งเหล่านั้นอยู่ และสามารถอยู่ได้โดยการกระทำอย่างเป็นคู่อย่างถูกต้อง"
"การจับคู่ของสิ่งต่างๆ บางอย่างจะจับคู่กับสิ่งตรงกันข้ามและไม่ควรทำในสิ่งที่ผิดที่ไม่ดี บางอย่างที่ถูกที่ดีจะจับคู่กับสิ่งที่เป็นกลางๆ บางอย่างก็เป็นสิ่งที่ผิดที่ไม่ดีทั้งคู่อย่างเช่นการหลงผิดต่างๆ และไม่ควรทำทั้งคู่"
"ในที่ซีกครึ่งแรกของขันธ์อย่างเช่นธรรมต่างๆ หากกระทำเป็นความถูกความดีแล้วควรจะจับคู่กับสิ่งที่เป็นกลางๆ ส่วนในที่ซีกครึ่งหลังของขันธ์ หากกระทำเป็นความถูกความดีแล้วควรจะจับคู่กับคู่ของสิ่งนั้นๆ ตามความเหมาะสม อย่างเช่นการให้ การรับ, การหา การปล่อยไป, การเรียง การไม่เรียง, การทำ การไม่ทำ, การสร้าง การทิ้ง, การทิ้ง การนำกลับมาใช้ใหม่"
"การกระทำอย่างจับคู่อย่างถูกต้อง จะทำให้เป็นทางสายกลางอยู่ได้"

สิ่งที่มีอำนาจมาก
"สิ่งที่มีอำนาจมาก คือ ธรรมชาติ ธรรมะ ความถูกความดี วิชา กฎหมาย"

วันเสาร์ที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2567

พูดคุยธรรมะ

รู้ ทำ แก้ปัญหา
รู้ ทำ รู้ปัญหา แก้ปัญหาโดยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความตรง วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง

พูดคุยธรรมะกันได้ที่ comment ครับ

วันจันทร์ที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2567

ไหว ไม่เกินขีดจำกัด

"การหา เรียง ทำ สร้างไหว อยู่ไหว ไม่เกินขีดจำกัด ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง จะทำให้มีความสุข ไม่ทุกข์"
"การหา เรียง ทำ สร้างไหว อยู่ไหว ไม่เกินขีดจำกัด อย่างถูกต้อง จะทำให้ไม่ไปทำผิดทำไม่ดี ไม่ไปเบียดเบียนได้"
"การหา เรียง ทำ สร้างไม่ไหว อยู่ไม่ไหว หรือเกินขีดจำกัด เป็นอีกสาเหตุที่ทำให้ไปทำผิดทำไม่ดี ไปเบียดเบียนได้"
"ควรทำให้ไหว ไม่เกินขีดจำกัดอย่างถูกต้อง เป็นวิชา ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"

วันอาทิตย์ที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2567

วันเสาร์ที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2567

การคัดลอก

"เราควรมีฐานหรือมีภูมิที่เพียงพอก่อน ถึงจะคัดลอกได้"
"เราสามารถคัดลอกจากผู้อื่น เพื่อเปรียบเทียบ ตรวจสอบกับตนเองให้ถูกต้องได้"
"เราสามารถคัดลอกจากต้นฉบับของตนเอง แล้วแปลง ปรับเปลี่ยนไปใช้กับกลุ่มอื่นๆ อย่างเหมาะสมได้"
"ไม่ควรคัดลอกจากผู้อื่นแล้วนำไปใช้เลย โดยที่มีฐานหรือมีภูมิไม่เพียงพอ"

ตั้งค่า ปรับค่า

ตั้งค่า ปรับค่าขันธ์
"ควรตั้งค่าต่างๆ ของขันธ์ให้ถูกต้อง ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ควรปรับค่าต่างๆ ของขันธ์ให้เหมาะสม ถูกต้อง ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ควรจัดสัดส่วนต่างๆ ของขันธ์อย่างถูกต้อง ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

ตั้งค่า ปรับค่า
"ควรตั้งค่าต่างๆ ให้ถูกต้อง ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ควรปรับค่าต่างๆ ให้เหมาะสม ถูกต้อง ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ควรจัดสัดส่วนรูปนามต่างๆ ให้ถูกต้อง ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ควรแบ่งกลุ่มรูปนาม ให้ถูกต้อง ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันศุกร์ที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2567

บัญชีสมบัติรูป สมบัตินาม

"เราควรเปิดบัญชีสมบัติรูป สมบัตินามอย่างถูกต้อง มีการหา เรียง ทำ สร้างอย่างถูกต้องเพื่อให้มีรายรับเข้าบัญชี มีการใช้จากบัญชี มีการจ่ายจากบัญชี อย่างเป็นความถูก เป็นธรรมะ เป็นธรรมฝ่ายดีงาม เป็นความดีงาม เป็นกลาง เป็นธรรม เป็นความตรง เป็นวิชา ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"
"บัญชีสมบัติรูป สมบัตินามสามารถเปิดได้บัญชีเดียวต่อคน"

วันศุกร์ที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567

ทุจริต สุจริต สิ่งที่ดี

ทุจริต สุจริต
สุจริต คือ ถูกต้อง ตรง ซื่อสัตย์
ทุจริต คือ คด โกง

"ควรให้สุจริต ไม่ทุจริตเป็นเจตนา"
"ควรสะสมความสุจริต เอาไว้เก็บ เอาไว้ใช้ อย่างไม่เป็นกิเลส"
"การสะสมความสุจริต เอาไว้เก็บ เอาไว้ใช้ อย่างไม่เป็นกิเลส เมื่อเกิดปัญหา จะทำให้ไม่ไปกระทำความทุจริตได้"
"ไม่ควรนิยมทุจริต รังเกียจสุจริต"
"ไม่ควรรับจากความทุจริต ควรรับจากความสุจริต"
"ไม่ควรรับอย่างทุจริต ควรรับอย่างสุจริต"
"เราควรลดความทุจริตของเราลงไปเรื่อยๆ จนไม่เหลือ"
"เราควรคิด พูด สื่อ ทำอย่างสุจริต ไม่ทุจริต"
"ไม่ควรทุจริตทั้งทางรูป นาม ควรสุจริตทั้งทางรูป นาม"
"การปฏิบัติความสุจริตจะทำให้ได้กำไรรูป นามอย่างถูกต้อง เพียงพอได้ การปฏิบัติความทุจริตจะทำให้ขาดทุนรูป นาม"

สิ่งที่ดี
การคิด พูด สื่อ กระทำด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความจริงใจ วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง เป็นสิ่งที่ดี

วันพฤหัสบดีที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567

เติมเต็ม

"เราสามารถเติมเต็มให้กับสิ่งที่เราขาด หรือสิ่งที่เราขาดในอดีต ได้โดยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความจริงใจ วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันพุธที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567

การตัดสินใจ ตัดสินใจเอง

"ตัดสินใจด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ตัดสินใจเองด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันอาทิตย์ที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567

ปัญหา

"ปัญหา คือ ไม่รู้ ไม่ได้ทำความถูกความดี"
"ปัญหา เกิดจากการขาดทุนรูป นาม แล้วไปกระทำอธรรม ทุจริต"
"แก้ปัญหาโดยการไม่ทุจริต แล้วคิด พูด สื่อ ปฏิบัติสุจริต"
"แก้ปัญหาโดยการสะสมความสุจริต เอาไว้เก็บ เอาไว้ใช้ อย่างไม่เป็นกิเลส"

วันอังคารที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567

แนวของความสุข กำไรรูป นาม

แนวของความสุข
"จะมีความสุขได้จากแนวกลางอย่างเป็นธรรมะ ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส หรือแนวบวกอย่างเป็นธรรมะ เป็นธรรมฝ่ายดีงาม เป็นความถูกต้องความดี ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส"

กำไรรูป นาม
"ควรปฏิบัติธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความถูกความดี วิชา เพื่อให้มีกำไรรูป นามอย่างถูกต้อง เพียงพอ เมื่อมีกำไรอย่างถูกต้อง เพียงพอแล้วสามารถพัก และใช้จากรายรับที่เป็นกำไรรูป นามที่เก็บเอาไว้ได้"
"การใช้วิชา โดยปราศจากธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความถูกความดี จะไม่สามารถทำให้ได้กำไรรูป นาม ได้"
"การปฏิบัติความสุจริตจะทำให้ได้กำไรรูป นามอย่างถูกต้อง เพียงพอได้ การปฏิบัติความทุจริตจะทำให้ขาดทุนรูป นาม"
"การมีรายรับที่เป็นกำไรรูป นามอย่างถูกต้อง เพียงพอมาเก็บหรือใช้ จะสามารถทำให้ไม่ทุกข์ ไม่ไปทำอธรรม ไม่ไปทำความผิดความไม่ดี ได้"
"การขาดทุนรูป นาม จะทำให้เป็นทุกข์ เป็นสาเหตุที่ทำให้ไปทำอธรรม ไปทำความผิดความไม่ดี ไปทุจริต"

วันจันทร์ที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567

ความงามและวิชา

"ลำพังวิชา โดยที่ไม่มีธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความถูกความดี ไม่สามารถทำให้งามได้ การปฏิบัติธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความถูกความดี ความจริงใจควบคู่ไปกับวิชาจะสามารถทำให้งามได้"
"ความถูกต้อง ความดีงาม จะสามารถทำให้ผ่อนคลาย ไม่ทุกข์ ไม่เครียดได้"

วันเสาร์ที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567

เปิดทาง หน่วยต่างๆ

เปิดทาง
"ไม่ควรเปิดทางให้ความผิด อธรรม วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส ความไม่เป็นทางสายกลาง"
"ควรเปิดทางให้ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

หน่วยต่างๆ
"ไม่ควรมีหน่วยของความผิด หน่วยของอธรรม หน่วยของความไม่เป็นอิสระอย่างถูกต้อง หน่วยของความเป็นอิสระอย่างผิด อยู่"
"ควรมีหน่วยของความถูก หน่วยของธรรมะ หน่วยของความเป็นอิสระอย่างถูกต้อง เป็นบวกอย่างเพียงพอ"

วันศุกร์ที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567

ความสุขและรูปธาตุ นามธาตุ ธรรม การใช้และรูปธาตุ นามธาตุ

ความสุขและรูปธาตุ นามธาตุ ธรรม
"ไม่ควรมีความสุขจากรูปธาตุ ควรมีความสุขจากนามธาตุ ธรรม อย่างเป็นธรรมะ ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส"

การใช้และรูปธาตุ นามธาตุ
"ไม่ควรใช้จากรูปธาตุ ควรใช้จากนามธาตุ"

วันพฤหัสบดีที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567

สิ่งควรทำ

สิ่งควรทำ คือ
- การรู้จักให้รู้จักรับอย่างถูกต้อง เป็นกลาง เป็นธรรม
- ซื่อสัตย์

สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่ทำให้อยู่ได้อย่างถูกต้อง

สิ่งไม่ควรทำ

"สิ่งไม่ควรทำ คือการแย่ง เปลี่ยน สลับ อย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส เป็นสิ่งที่ทำให้อยู่ไม่ได้"

วันอังคารที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567

สวยงาม มีความสุข

"ควรพิจารณาดูให้รู้ว่าความสวยงามของสิ่งต่างๆ และความสุข เกิดจากอะไร ตามจริง"
"การทำให้สิ่งต่างๆ สวยงาม และมีความสุขอย่างถูกต้อง กระทำจากความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความจริงใจ วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง เป็นสิ่งควรกระทำ"
"สามารถทำให้สิ่งต่างๆ สวยงาม และมีความสุขอย่างถูกต้อง จากสมบัติรูป สมบัตินาม วัตถุ อย่างเป็นความถูกความดี เป็นวิชา ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส"
"ไม่ควรทำให้สิ่งต่างๆ สวยงาม และมีความสุขอย่างผิด คือไม่กระทำจากความผิด อธรรม ความลำเอียง การเอาเปรียบ ความเห็นแก่ตัว ความไม่มีวิชา วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส ความไม่เป็นทางสายกลาง"
"ไม่ควรทำให้สิ่งต่างๆ สวยงาม และมีความสุขอย่างผิด คือไม่กระทำจากการใช้สมบัติรูป สมบัตินาม วัตถุ สมบัติที่เป็นวัตถุ ทอง เพชร พลอย อัญมณี หรือทรัพย์สมบัติที่เป็นวัตถุมีค่าอื่นๆ อย่างเป็นแบบผิด เป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส"

วันเสาร์ที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567

การสร้าง

"ควรพิจารณาดูให้รู้ว่าสิ่งต่างๆ ทั้งรูปหรือนามในที่เราอาศัยอยู่ สร้างจากอะไร ตามจริง"
"การสร้างสิ่งต่างๆ ทั้งรูปหรือนามอย่างถูกต้อง สร้างจากความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความจริงใจ วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง ควรสร้างสิ่งต่างๆ อย่างถูกต้อง"
"สามารถสร้างสิ่งต่างๆ ทั้งรูปหรือนามอย่างถูกต้อง จากสมบัติรูป สมบัตินาม วัตถุ อย่างเป็นความถูกความดี เป็นวิชา ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส"
"ไม่ควรสร้างสิ่งต่างๆ ทั้งรูปหรือนามอย่างผิด คือไม่สร้างจากความผิด อธรรม ความลำเอียง การเอาเปรียบ ความเห็นแก่ตัว ความไม่มีวิชา วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส ความไม่เป็นทางสายกลาง"
"ไม่ควรสร้างสิ่งต่างๆ ทั้งรูปหรือนามอย่างผิด คือไม่สร้างจากสมบัติรูป สมบัตินาม วัตถุ สมบัติที่เป็นวัตถุ ทอง เพชร พลอย อัญมณี หรือทรัพย์สมบัติที่เป็นวัตถุมีค่าอื่นๆ อย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส"

ดอกของไม้นาคะ
ภาพจากอินเทอร์เน็ต


วันพฤหัสบดีที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567

เป้าหมายในการอยู่ ไม่เอา

เป้าหมายในการอยู่
"มีเป้าหมายในการอยู่เป็น การทำความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"มีเป้าหมายในการอยู่เป็น ทำให้เป็นกลาง เป็นธรรมมากขึ้นอย่างถูกต้อง เพียงพอ ด้วยทางสายกลาง"
"การมีความเป็นกลาง มีความเป็นธรรมมากขึ้น เพียงพอ ทำให้อยู่ในแนวบวก สงบสุข เรียบร้อยได้"

ไม่เอา
"ไม่ควรเอาของเขา"

ไม่เอา หมายถึงทั้งรูปหรือนาม

แจกไฟล์ข้อคิดธรรมะ โดยชวัลธร ใน OneDrive กดดาวน์โหลดได้ครับ

วันพุธที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2567

วันอาทิตย์ที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2567

แก้ปัญหาความเครียด ความทุกข์

"ทำให้ไม่เครียด ไม่ทุกข์ ทำให้ความเครียด ความทุกข์ลดลงหรือหมดไป โดยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา การรู้จักวางเฉย การรู้จักออกจาก ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันเสาร์ที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2567

คิด เขียน

"ควรคิด เขียนธรรมะ ธรรมะหลัก ธรรมฝ่ายดีงาม อธรรม กิเลส ให้ถูกต้อง แล้วปฏิบัติให้ถูกต้อง"

วันอังคารที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2567

ทำถูกกฎ เหตุของความทุกข์ ความสุข การทำให้หมด

ทำถูกกฎ
"ควรทำถูกกฎของธรรมชาติ ถูกกฎของธรรมะ กฎของความถูกความดี ถูกกฎของการกระทำ ถูกกฎของวิชา ถูกกฎที่ถูกที่ดี
การทำถูกกฎเหล่านี้ จะทำให้อยู่ในระบบ มีความสงบสุข มีความสุข ไม่ทุกข์ ได้"
"ควรทำถูกกฎที่ถูกต้องที่ดีทุกกฎ แล้วทำให้เป็นธรรมต่อตนเองหรือผู้อื่น"
ย่อ
"การทำถูกกฎของธรรมะ จะทำให้อยู่ในระบบ มีความสงบสุข มีความสุข ไม่ทุกข์ ได้"

เหตุของความทุกข์ ความสุข
เหตุของความทุกข์ คือการกระทำอธรรม ความไม่มีวิชา หรือกิเลส
เหตุของความสุข คือการกระทำธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความถูกความดี วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง

การทำให้หมด
"ควรทำให้อธรรมหมดไปก่อน เหลือแต่ธรรมะ ความไม่เป็นอธรรม
ควรทำให้กิเลสหมดไปก่อน เหลือแต่ความไม่เป็นกิเลส
ควรทำให้ความผิดหมดไปก่อน เหลือแต่ความถูก"

วันอาทิตย์ที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2567

เหตุ ผลของความสุข ชนิดของความสุข สร้างเหตุที่ถูกที่ดี

เหตุ ผลของความสุข
"การกระทำธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความถูกความดี วิชา อย่างไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง จะเป็นเหตุของความสุข และมีผลเป็นความสุขทางพื้นฐาน รูป(รูปธรรม) อรูป ธรรม"
"ไม่ควรมีความสุขทางพื้นฐาน รูป(รูปธรรม) อรูป ธรรม โดยที่ไม่ได้ทำเหตุจากการกระทำความถูกความดี"
"หากเราไปรับความสุขทางพื้นฐาน รูป(รูปธรรม) อรูป ธรรม โดยที่ไม่ได้ทำเหตุจากการกระทำความถูกความดี จะทำให้เราเสีย ไปทำอธรรม ไปทำผิดทำชั่ว ไปเบียดเบียนผู้อื่นหรือตนเอง ในภายหลัง"
"สามารถมีความสุขทางพื้นฐาน รูป(รูปธรรม) อรูป ธรรม อย่างไม่เป็นอธรรมได้"
"สามารถมีความสุขทางพื้นฐาน รูป(รูปธรรม) อรูป ธรรม อย่างไม่เป็นกิเลสได้"

ชนิดของความสุข
ชนิดของความสุข แบ่งเป็น ความสุขในแนวกลางหรือแนวศูนย์ คือความสงบสุข และความสุขในแนวบวก คือความสุขปกติ

สร้างเหตุที่ถูกที่ดี
"สร้างเหตุเป็นการกระทำความถูกความดี จะทำให้มีผลเป็นมีความสงบสุข มีความสุข ได้ดี อยู่ดี มีธรรมะ มีธรรมฝ่ายดีงาม เป็นกลาง เป็นธรรม เป็นวิชา ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"
ย่อ
"สร้างเหตุเป็นการกระทำความถูกความดี จะทำให้มีผลเป็นมีความสงบสุข มีความสุข ได้ดี อยู่ดี"

วันพฤหัสบดีที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2567

อยู่ข้างใน อยู่ใกล้ อยู่ไกล สิ่งที่ไม่ใช่ของสูง สิ่งที่เป็นของสูง

อยู่ข้างใน อยู่ใกล้ อยู่ไกล
"ควรอยู่ข้างในธรรมะ ความถูกความดี อยู่ใกล้ธรรมะ ความถูกความดี อยู่ไกลจากอธรรม อยู่ไกลจากกิเลส
ไม่ควรอยู่ไกลธรรมะ ความถูกความดี อยู่ใกล้อธรรม อยู่ใกล้กิเลส"

สิ่งที่ไม่ใช่ของสูง สิ่งที่เป็นของสูง
"อธรรม ความไม่มีวิชา กิเลส ไม่ใช่ของสูง ไม่ใช่ของอย่างดี"
"ธรรมะที่ยังไม่สมบูรณ์ ยังไม่ใช่ของสูง ยังไม่ใช่ของอย่างดี"
"ธรรมะที่สมบูรณ์ เป็นของสูง เป็นของอย่างดี"

วันพุธที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2567

พื้นฐาน รูป อรูป ธรรม บังคับตนเอง

พื้นฐาน รูป อรูป ธรรม
"ไม่ควรใช้ ควรตัดพื้นฐาน รูป(รูปธรรม) อรูป ธรรม ที่เป็นอธรรม"
"ไม่ควรใช้ ควรตัดพื้นฐาน รูป(รูปธรรม) อรูป ธรรม ที่เป็นกิเลส"
"ใช้พื้นฐาน รูป(รูปธรรม) อรูป ธรรม อย่างไม่เป็นอธรรม"
"ใช้พื้นฐาน รูป(รูปธรรม) อรูป ธรรม อย่างไม่เป็นกิเลส"
"สามารถมีความสุขทางพื้นฐาน รูป(รูปธรรม) อรูป ธรรม อย่างเป็นธรรมะ เป็นธรรมฝ่ายดีงาม เป็นความถูกความดี เป็นวิชา ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง ได้"

บังคับตนเอง
"ควรบังคับ ยับยั้งตนเองได้ อย่างถูกต้อง ถูกคลองธรรม มีสติ มีเหตุผล"

วันอังคารที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2567

สิ่งที่ทำเป็นการดี ความสุข

สิ่งที่ทำเป็นการดี
"สิ่งที่ทำเป็นการดี คือการตัดอธรรม ตัดกิเลส ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลสก่อน แล้วปฏิบัติธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความถูกความดี วิชา"

"จะเป็นการดีกว่าหรือไม่ ถ้าตัดอธรรม ตัดกิเลส ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลสก่อน แล้วปฏิบัติธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความถูกความดี วิชา"

ความสุข
"การไม่ทำอธรรมเลย การทำธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงามจะทำให้มีความสุขมาก"

รู้อธรรม รู้กิเลส รู้ธรรมะ

รู้อธรรม รู้กิเลส
"ไม่ควรปฏิบัติอธรรม เพื่อให้รู้อธรรม ควรรู้อธรรมโดยที่ไม่ต้องปฏิบัติอธรรมเลย
สามารถรู้ รับมืออธรรมได้โดยการปฏิบัติธรรมะ ธรรมฝ่ายดี ความถูกต้องความดี วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"สามารถรู้ รับมือกิเลสได้โดยการปฏิบัติธรรมะ ธรรมฝ่ายดี ความถูกต้องความดี วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

รู้ธรรมะ
"รู้ธรรมะได้โดยการปฏิบัติธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความถูกต้องความดี ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันจันทร์ที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2567

สาเหตุของปัญหา เจตนา ตั้งใจ

สาเหตุของปัญหา
"สาเหตุของปัญหา เกิดจากการปฏิบัติอธรรม ไม่ปฏิบัติธรรมะ ไม่ปฏิบัติธรรมฝ่ายดี ไม่มีวิชา ปฏิบัติกิเลส หรือปฏิบัติไม่เป็นทางสายกลาง หย่อนเกิน ตึงเกิน"

เจตนา ตั้งใจ
"ควรมีเจตนา ตั้งใจกระทำธรรมะ ธรรมฝ่ายดี ความถูกความดี วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง
ไม่ควรมีเจตนา ตั้งใจ หรือจงใจกระทำอธรรม ธรรมฝ่ายไม่ดี ความผิดความไม่ดี ความไม่ใช่วิชา กิเลส ความไม่ใช่ทางสายกลาง เลย"

สนทนาธรรม

"ควรสนทนาธรรมอย่างเหมาะสมตามกาล เพื่อสร้างสรรค์"

ไม่ควรใช้อธรรม

"การใช้อธรรมในการทำให้ไม่ทุกข์ ไม่ทรมาน มีความสุข มีใช้ อยู่ได้ จะเป็นแบบผิด เป็นสิ่งที่ไม่ควรทำ"
"ไม่ควรใช้อธรรมในการทำให้มี ได้ อยู่ได้ มีความสุข ไม่ทุกข์ ไม่ได้รับผลของการทำผิดทำไม่ดี หรือไม่ได้รับผลของกิเลส"
"ไม่ควรปฏิบัติอธรรม เพื่อให้รู้อธรรม ควรรู้อธรรมโดยที่ไม่ต้องปฏิบัติอธรรมเลย
สามารถรู้อธรรมได้โดยการปฏิบัติธรรมะ ธรรมฝ่ายดี ความถูกต้องความดี วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ควรมี ได้ อยู่ได้ มีความสุข ไม่ทุกข์ แก้ปัญหาด้วยธรรมะ ความถูกต้องความดี วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

อยู่ง่าย

"ควรอยู่ง่าย ไม่ควรอยู่ยากจนเกินไป"
"การอยู่ง่าย ทำได้โดยการใช้ธรรมะ วิชา ความสมดุลทำให้อยู่ง่ายขึ้น"
"การอยู่ง่าย สามารถทำให้กระทำความถูกความดีได้ง่าย"
"การอยู่ง่ายจะทำให้มีความสุข ไม่ทุกข์ได้"
"การอยู่ง่าย ทำให้แก้ปัญหาได้ง่าย"

สมดุลการบังคับ

"ในด้านรูป ควรบังคับขันธ์ของตนเอง อย่างถูกต้องครึ่งหนึ่ง มีอิสระไม่บังคับ อย่างถูกต้องอีกครึ่งหนึ่ง"
"ในด้านนาม ควรบังคับขันธ์ของตนเอง อย่างถูกต้องครึ่งหนึ่ง มีอิสระไม่บังคับ อย่างถูกต้องอีกครึ่งหนึ่ง"
"ธรรมะ เป็นสิ่งที่ใช้ในการควบคุมบังคับในด้านรูปหรือด้านนาม"
"ไม่ว่าจะอยู่ที่ใดก็ตาม ควรปรับตัวให้มีการบังคับขันธ์ของตนเอง อย่างถูกต้อง เท่ากับการมีอิสระไม่บังคับ อย่างถูกต้อง"
สรุป
"ควรบังคับขันธ์ของตนเอง อย่างถูกต้องครึ่งหนึ่ง มีอิสระไม่บังคับ อย่างถูกต้องอีกครึ่งหนึ่ง"

ประเภทของความสุข แก้ปัญหาการคิด ปฏิบัติธรรมะ ความถูกความดีแล้วทุกข์

ประเภทของความสุข
ประเภทของความสุข คือ
- ความสุขจากความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม การรู้คุณแทนคุณ ทางสายกลาง
- ความสุขจากการคิดถูกคิดดี หรือคิดบวก
- ความสุขจากการปฏิบัติถูกปฏิบัติดี หรือปฏิบัติบวก
- ความสุขจากวิชา
- ความสุขจากความสงบ ไม่เบียดเบียน ไม่ถูกเบียดเบียน ความไม่ยึดติด ไม่ยึดมั่นถือมั่น สมาธิ ความไม่เป็นกิเลส

มีความสุขจากธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความถูกความดีแล้ว ควรมีความสงบ ความเป็นกลาง ความไม่เป็นกิเลสกระทำควบคู่ไปด้วย

แก้ปัญหาการคิด ปฏิบัติธรรมะ ความถูกความดีแล้วทุกข์
แก้ปัญหาการคิด ปฏิบัติธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความถูกความดีแล้วทุกข์ ได้โดยการคิด ปฏิบัติควบคู่ไปกับการปฏิบัติวิชา ความสงบ ความเป็นกลาง ความไม่เป็นกิเลส จะทำให้ไม่ทุกข์ได้

การรู้จักวางเฉย รู้จักหยุด รู้จักยับยั้ง รู้จักพัก รู้จักออกจาก

"รู้จักวางเฉย รู้จักหยุด รู้จักยับยั้ง รู้จักพัก รู้จักออกจากอย่างเป็นความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

จิตใจที่งดงาม

"มีจิตใจที่งดงามด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความตรง ความจริงใจ วิชา การรู้จักวางเฉย การรู้จักออกจาก ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

การอยู่

"การอยู่ คือการทำความถูกความดี การแก้ปัญหา"
"การอยู่ที่ควร คือการทำความถูกความดี การแก้ปัญหาด้วยธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
ย่อ
"การอยู่ที่ควร คือการทำความถูกความดี การแก้ปัญหาด้วยธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม วิชา"

คาดหวัง มุ่งมั่น

คาดหวัง มุ่งมั่น
"คาดหวัง มุ่งมั่นอย่างเป็นความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา การรู้จักวางเฉย การรู้จักออกจาก ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ไม่ควรคาดหวัง มุ่งมั่นอย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส"
"ไม่ควรคาดหวัง มุ่งมั่นจนเกินไป"

คาดหวัง มุ่งมั่นในสมบัติรูป สมบัตินาม
"ไม่ควรคาดหวัง มุ่งมั่นในสมบัติรูป สมบัตินามอย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส"
"ไม่ควรคาดหวัง มุ่งมั่นในสมบัติรูป สมบัตินามจนเกินไป"

คาดหวัง มุ่งมั่นในเกียรติ
"ไม่ควรคาดหวัง มุ่งมั่นในเกียรติอย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส"
"ไม่ควรคาดหวัง มุ่งมั่นในเกียรติจนเกินไป"

คิดธรรมะ จุดประสงค์ของธรรมะ

คิดธรรมะ
"คิดธรรมะ เพื่อความถูกความดี"
"คิดธรรมะขึ้นมาเพื่อใช้ในการปฏิบัติความถูกความดี"
"คิดธรรมะ จากปัญหา"
"คิดธรรมะขึ้นมาเพื่อใช้ในการแก้ปัญหา"

จุดประสงค์ของธรรมะ
จุดประสงค์ของธรรมะ คือเพื่อความถูกต้อง เพื่อความดี เพื่อให้ถูกต้อง เพื่อให้ดี เพื่อแก้ปัญหา

เอาชนะใจตนเอง

"เอาชนะใจตนเอง เข้าหาและปฏิบัติความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"เอาชนะใจตนเอง ไม่ปรารถนาในอธรรม วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส"
"เอาชนะใจตนเอง ไม่ปฏิบัติในอธรรม วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส"

ขยัน

"เอาชนะใจตนเอง ขยันทำงานตามหน้าที่อย่างเหมาะสม ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

มีธรรมะให้เพียงพอ

"ควรมีธรรมะให้เพียงพอ แล้วปฏิบัติให้ถูกต้อง ให้ดี"

มีความสุข สงบ

"มีความสุข ไม่ทุกข์ ไม่เดือดร้อน อย่างไม่เป็นอธรรม ไม่เบียดเบียน ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"มีความสงบ ไม่ทุกข์ ไม่เดือดร้อน อย่างไม่เป็นอธรรม ไม่เบียดเบียน ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"

สภาพที่พอเหมาะกับขันธ์

"สภาพที่พอเหมาะกับขันธ์ คือสภาพที่ไม่มากไป ไม่น้อยไป ตามกาลนั้นๆ ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"
"เมื่อมีสภาพที่พอเหมาะกับขันธ์ ควรอยู่ได้อย่างเป็นปกติ ไม่ทุกข์ ไม่เดือดร้อน"
"ควรอยู่ในสภาพที่พอเหมาะกับขันธ์ และอยู่ได้อย่างเป็นปกติ"
"อยู่ได้อย่างเป็นปกติ คืออยู่อย่างแก้ปัญหาได้ทันเวลา"

ไม่ลอดช่องโหว่

"ไม่ควรลอดช่องโหว่แล้วทำผิดทำไม่ดี"

นำกลับมาใช้ใหม่

"ควรนำกลับมาใช้ใหม่ อย่างสมบูรณ์ เหมาะสม"
หมายถึงควรนำสมบัติรูป สมบัตินามที่เคยถูกใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ อย่างสมบูรณ์ เหมาะสม ด้วยความถูก ธรรมะ วิชา การปฏิบัติถูกกฎของธรรมชาติ ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง

"การนำกลับมาใช้ใหม่ อย่างสมบูรณ์ เหมาะสม จะทำให้แก้ปัญหาได้ ทำให้มีความสุขได้ ทำให้ไม่ทุกข์ หรือทุกข์น้อยได้ ทำให้ไม่เบียดเบียนได้"
"การนำกลับมาใช้ใหม่ อย่างสมบูรณ์ เหมาะสม เป็นสิ่งที่ทำให้เกิดธรรมะขึ้นมาได้"
"การนำกลับมาใช้ใหม่ อย่างไม่สมบูรณ์ หรือไม่เหมาะสม จะทำให้เกิดปัญหา ทำให้เป็นทุกข์ได้ ทำให้เกิดการเบียดเบียน"
"การนำกลับมาใช้ใหม่ อย่างไม่สมบูรณ์ หรือไม่เหมาะสม เป็นสิ่งที่ทำให้เกิดอธรรมขึ้นมา"
"การทำงานคือการนำกลับมาใช้ใหม่ อย่างสมบูรณ์ เหมาะสม"

สะท้อน

"เมื่อผลของเราตกไปที่ผิดที่ไม่ดี ควรให้สะท้อนไปเรื่อยๆ เพื่อให้ตกไปในที่ถูกที่ดี ด้วยวิชา แล้วสะท้อนมายังเราและรับมาเก็บ ใช้ หรือชดใช้ ไม่ควรให้ผลของเราสูญเสียหรือซึมซับไประหว่างทางการสะท้อนเลยแม้แต่น้อย"
"เมื่อผลกรรมของผู้อื่นมาตกที่เรา ไม่ว่าจะเป็นที่ถูกที่ดีหรือเป็นที่ผิดที่ไม่ดีก็ตาม เราควรสะท้อนกลับไปยังเจ้าของกรรมนั้นๆ ด้วยวิชา ไม่ควรซึมซับแบบผิดหรือเก็บแบบผิดเอาไว้เองเลยแม้แต่น้อย"
"การสะท้อนกลับไปยังเจ้าของกรรม บางทีอาจจะต้องสะท้อนผ่านไปยังหลายคนก่อนจะถึงเจ้าของกรรม อย่างถูกต้องด้วยวิชาและทางสายกลาง"

การกระทำที่ควร หลักธรรม จิตสำนึก

การกระทำที่ควร
"จริงใจด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"มีจิตสำนึกด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"มีความปรารถนาดีด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"คิดด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"มีเหตุผล วิเคราะห์ รู้ด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"ตัดสินใจ เลือกด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"พึ่งพาด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"เพียร พยายามด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"หา เรียง ทำ สร้างด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"กระทำ ปฏิบัติด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"พูด สื่อด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"รอบคอบ ไม่ประมาทด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"สร้างสรรค์ด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"แก้ปัญหาด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"ไม่เบียดเบียนด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"ให้ด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"รับด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"ใช้ด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"เก็บ รักษาด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"บันทึกด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"ตั้งมั่น อดทน เข้มแข็งด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"น้อมนำ นำพาด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"เอื้อเฟื้อ ช่วยเหลือด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"สนับสนุนด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"ประคับประคองด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"
"เป็นอิสระด้วยธรรมะ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา"

การกระทำที่ควรหรือการแก้ปัญหาตรงเหตุ
เหตุของปัญหาเกิดจาก
- เชื่อในความผิด เชื่อด้วยความผิด
- คิด พูด สื่อ กระทำอย่างเป็นกิเลส คือ โลภ โกรธ หลง
- ทำด้วยความผิด

การกระทำที่ควรหรือการแก้ปัญหาตรงเหตุ ทำได้โดย
- เชื่อในความถูก เชื่อด้วยความถูก
- คิด พูด สื่อ กระทำในทางที่ถูกที่ดีอย่างไม่เป็นกิเลส คือ ไม่โลภ ไม่โกรธ ไม่หลง หรือไม่เป็นไปในทางโลภ โกรธ หลง ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม วิชา ทางสายกลาง
- ทำเพื่อความถูก

หลักธรรม ๔ ข้อ
หลักธรรม ๔ ข้อ คือ
- ไม่ทำผิดไม่ทำชั่ว
- ทำถูกทำดี
- ทำจิตใจให้สะอาด บริสุทธิ์ ผ่องใส เป็นอิสระอย่างถูกต้อง
- แก้ปัญหาอย่างถูกต้องด้วยความถูกความดี

จิตสำนึก
"มีจิตสำนึก มีความเพียร พยายาม รอบคอบ สร้างสรรค์ แก้ปัญหา เป็นอิสระด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา ความไม่เบียดเบียน การรู้จักวางเฉย ปล่อยวาง การรู้จักออกจาก ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"จิตสำนึกเป็นสิ่งสำคัญ ทำให้เกิดความถูก ธรรมะ ความสงบสุข ไม่เบียดเบียน เป็นกลาง เป็นธรรม สร้างสรรค์"
"คิด พูด สื่อ กระทำด้วยความมีจิตสำนึก"

การทำถูกทำดี

"การทำถูกทำดี คือ การทำธรรมะกัน การรู้ด้วยธรรมะกัน การบอกธรรมะกัน การทำงานด้วยธรรมะกัน การให้และรับด้วยธรรมะกัน การจริงใจต่อกัน การไม่ทำผิดไม่ทำไม่ดีกัน การไม่เบียดเบียนกัน"
"การทำถูกทำดี คือ การแก้ปัญหาด้วยธรรมะหรือความถูกความดีกัน"

"เก็บ สะสมธรรมะ ความถูกความดี ความไม่เป็นกิเลส ไม่สะสมอธรรม ความผิดความไม่ดี หรือกิเลส"

การตัดอธรรม ตัดกิเลส ฝึกสมาธิ

การตัดอธรรม ตัดกิเลส
"จะต้องหยุดพักการใช้งานสมบัติรูป สมบัตินามที่ใช้ในปัจจุบันก่อนชั่วคราว และเก็บสมบัติรูป สมบัตินามที่สะสมไว้อย่างมิดชิด ถึงจะทำการตัดอธรรม ตัดกิเลสได้"
"สามารถทำให้ไม่มีอธรรม ไม่มีกิเลสที่เก็บสะสมเอาไว้อยู่เลย แล้วทำการตัดอธรรม ตัดกิเลส"
"เมื่อตัดอธรรม ตัดกิเลสไปแล้ว สามารถปฏิบัติความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง ได้"
"ไม่ควรสะสมอธรรม กิเลส"

ฝึกสมาธิ
"จะต้องหยุดพักการใช้งานสมบัติรูป สมบัตินามที่ใช้ในปัจจุบันก่อนชั่วคราว และเก็บสมบัติรูป สมบัตินามที่สะสมไว้อย่างมิดชิด ถึงจะทำการฝึกสมาธิ จดจ่อกับฐานสมาธิได้"

การให้ธรรมะ การลงเอยด้วยธรรมะ

การให้ธรรมะ
"ธรรมะ เป็นสิ่งที่ดีต่อจิตใจ"
"การให้ธรรมะตนเองหรือผู้อื่น เป็นสิ่งที่ดีต่อจิตใจ ทำให้เกิดความถูกต้อง เกิดปัญญา ปฏิบัติถูกปฏิบัติดี มีความสุข สบายใจ ไม่ทุกข์ใจ ไม่หลงผิด ไม่ปฏิบัติผิด"

การลงเอยด้วยธรรมะ
"การทำอธรรม ไม่สามารถจบด้วยธรรมะได้"
"การไม่ทำอธรรม การทำถูกทำดี จะจบด้วยธรรมะได้"

ฟุ้งซ่าน กระสับกระส่าย

"การขาดสมาธิ มีอธรรม มีกิเลส ทำให้ฟุ้งซ่าน กระสับกระส่าย
การมีสมาธิ ไม่ปฏิบัติ ตัดอธรรม กิเลส อย่างถูกต้อง จะทำให้ไม่ฟุ้งซ่าน ไม่กระสับกระส่าย ได้"

อยู่ในระบบ ให้ความสำคัญจิตใจ ขันธ์

อยู่ในระบบ
"ควรอยู่ในระบบ"
"ควรทำให้อยู่ในระบบ"
"อยู่ในระบบ คือเป็นความถูก มีธรรมะ เป็นกลาง เป็นธรรม มีกฎแห่งกรรม เป็นวิชา เป็นอิสระอย่างถูกต้อง"
"อยู่ในระบบ จะอยู่กับความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

ให้ความสำคัญจิตใจ ขันธ์
"ให้ความสำคัญต่อจิตใจ ขันธ์ ให้มากกว่าสมบัติรูป สมบัตินาม"

ธรรมประจำใจและเป็นเป้าหมาย
ธรรมประจำใจและเป็นเป้าหมาย ๒ ข้อ คือ
- ไม่เป็นอธรรม ไม่มีอธรรม
- ไม่เป็นกิเลส ไม่มีกิเลส

อธรรม กิเลสที่แฝงซ่อนอยู่

"ทำให้อธรรม กิเลสที่แฝงซ่อนอยู่หมดไป ด้วยความถูก ธรรมะ วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

เป้าหมายในการอยู่

"ในการอยู่ มีเป้าหมายเป็นการมี อยู่ได้อย่างถูกต้อง ดีงาม มีความสุข สงบสุข เรียบร้อย เป็นวิชา ไม่เบียดเบียน ไม่เป็นกิเลส"
ย่อ
"ในการอยู่ มีเป้าหมายเป็นการมี อยู่ได้อย่างถูกต้อง สงบสุข เรียบร้อย ไม่เป็นกิเลส"

อารี

"มีความอารี ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความจริงใจ วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

ความเห็นถูก

"ความเห็นถูก คือความเห็นว่า การทำถูกทำดี ไม่เบียดเบียน จะทำให้มี อยู่ได้อย่างถูกต้อง สงบสุข เรียบร้อย"

ความเห็นผิด

"ไม่ควรมีความเห็นผิดว่า มี อยู่ได้อยู่ หรือไม่มี อยู่ไม่ได้ จึงไปทำผิดทำไม่ดี เบียดเบียน ควรคิดอย่างกลางๆ จะทำให้ไม่ไปทำผิดทำไม่ดี ไม่เบียดเบียน"
"ไม่ควรมีความเห็นผิดว่า ทำผิดทำไม่ดี เบียดเบียน แล้วจะยังมี อยู่ได้อยู่"

ความถูกความดี

"อยู่ด้วยความถูกความดี"
"เสริมสร้างกำลังใจด้วยความถูกความดี"
"พึ่งพาความถูกความดี"
"คิด พูด สื่อ ปฏิบัติความถูกความดี ความตรง ความไม่เป็นกิเลส"
"แก้ปัญหาโดยการปฏิบัติความถูกความดี"
"ให้ด้วยความถูกความดี"
"รับด้วยความถูกความดี"
"มีความมุ่งมั่น ตั้งมั่นในความถูกความดี ทางสายกลาง"
"มีความเพียร พยายามด้วยความถูกความดี ทางสายกลาง"
"เข้มแข็ง อดทนด้วยความถูกความดี"
"มีความสม่ำเสมอในความถูกความดี"
"มีอิสระด้วยความถูกความดี"
"มีเป้าหมายเป็นความถูกความดี"

ความรัก

"สามารถใช้ความปรารถนาดี อย่างถูกต้อง เป็นกลาง เป็นธรรม จริงใจ เป็นวิชา ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง แทนความรัก"
"สามารถให้ธรรมะ วิชา ให้อย่างเป็นธรรมะ เป็นธรรมฝ่ายดี เป็นวิชา แทนการให้ความรัก"

จุดประสงค์ อยู่ในแนวบวก

จุดประสงค์
"ปฏิบัติเพื่อไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส
เพื่อเป็นธรรมะ เป็นธรรมฝ่ายดีงาม เป็นความถูกความดี"

อยู่ในแนวบวก
"ควรให้ขันธ์อยู่ในแนวบวกที่กาลปัจจุบัน"

ไม่สร้างหรือมีบารมีที่ผิดที่ไม่ดี

"ไม่สร้างหรือมีบารมีที่ผิดที่ไม่ดี หากมีอยู่ ควรทำลายบารมีที่ผิดที่ไม่ดีให้หมดไปด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ไม่มีบารมีที่ผิดที่ไม่ดี แล้วสร้างบารมีที่ถูกที่ดี"
"บารมีที่ถูกที่ดี คือธรรมะหลัก ธรรมฝ่ายดีงาม"

แก้ปัญหาที่ตนเอง

"ไม่มุ่งการแก้ปัญหาที่ผู้อื่นด้วยการบังคับ แล้วแก้ปัญหาที่ตนเองด้วยการอุดช่องโหว่ของตนเองไปเรื่อยๆ"
"ทุกคนควรแก้ปัญหาที่ตนเองกัน ด้วยการอุดช่องโหว่ของตนเอง"
"การแก้ปัญหาที่ตนเองด้วยการอุดช่องโหว่ของตนเองไปเรื่อยๆ จะทำให้เกิดธรรมะ เกิดวิชา และทำให้แก้ปัญหาได้"

ตัวตน

"การไม่ยึดถือตัวตนอย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส จะทำให้ไม่ทุกข์ใจ"
"ควรไม่ยึดถือตัวตนอย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส"

ถูกคลองธรรม มีศีลธรรม ถูกหลักศีลธรรม

"การปฏิบัติอย่างถูกคลองธรรม มีศีลธรรม ถูกหลักศีลธรรม จะทำให้เจริญ ก้าวหน้า ได้ดี มีความสุข มีความสงบสุข เรียบร้อย ไม่ทุกข์จากการเบียดเบียน"
"ควรคิด พูด สื่อ กระทำ ปฏิบัติอย่างถูกคลองธรรม มีศีลธรรม ถูกหลักศีลธรรม"

คุ้มครอง

"ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม คุณธรรม ความคิดที่ถูกที่ดี ความเห็นที่ถูกที่ดี เจตนาที่ถูกที่ดี การเจรจาที่ถูกที่ดี การกระทำที่ถูกที่ดี ความตรง ความรอบคอบ ไม่ประมาท การรู้จักให้รู้จักรับ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม การรู้คุณแทนคุณ วิชา ความเพียร ความอดทน ความไม่เบียดเบียน การรู้จักวางเฉย การรู้จักออกจาก การรู้จักสละ ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง จะเป็นสิ่งที่คุ้มครองผู้ปฏิบัติได้"

ไม่ควรมีหนี้

"ไม่ควรมีหนี้สมบัติรูป สมบัตินาม ทั้งในอดีต ปัจจุบัน หรืออนาคต เราควรวางแผนอนาคตให้ไม่มีหนี้"
"สามารถชดใช้หนี้ได้ด้วยธรรมะ วิชา สมบัติรูป สมบัตินาม"

รับรอง

"รับรองให้ธรรมชาติ รูป นาม สมบัติรูป สมบัตินาม ผู้อื่น การกระทำ การใช้สมบัติรูปหรือสมบัตินาม ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"การรับรอง จะทำให้สิ่งที่ได้รับการรับรองมีความสำเร็จได้ เป็นผล ไม่เป็นโมฆะ"
"การรับรอง อาจจะต้องใช้หลายคนในการรับรอง ตามหลักธรรม ตามหลักวิชา ตามกฎของธรรมชาติ"
"ไม่ให้การรับรองในสิ่งที่ผิด"

การอยู่

"ควรอยู่กับความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ไม่ควรอยู่ได้ด้วยการเบียดเบียน แย่งผู้อื่น ทั้งทางตรงหรือทางอ้อม จะน้อยหรือมากก็ตาม"
"ควรอยู่ได้ด้วยการไม่เบียดเบียนผู้อื่นเลย"
"อยู่ได้ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม การรู้คุณแทนคุณ ความเพียร วิชา ความอดทน ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

ความสงบที่ควรมี รักษา พักจิตใจ

ความสงบที่ควรมี
"ความสงบที่ควรมีอย่างเป็นทางสายกลาง คือความสงบจากความกังวล ความฟุ้งซ่าน อธรรม กิเลส"
สรุป
"ความสงบที่ควรมีอย่างเป็นทางสายกลาง คือความสงบจากอธรรม กิเลส"

รักษา พักจิตใจ
"รักษา พักจิตใจด้วยความสงบจากความกังวล ความฟุ้งซ่าน อธรรม กิเลส"

จะถูกจะดี จะผิดจะไม่ดี

"จะถูกจะดี จะผิดจะไม่ดี อยู่ที่ตนเองคิดและปฏิบัติ"
"จะถูกจะดี จะผิดจะไม่ดี อยู่ที่ตนเองคิดขึ้นมาและปฏิบัติ"

มีความสุขอย่างถูกต้อง และทางที่ไปข้างหน้า

"การมีความสุขอย่างถูกต้อง ด้วยธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม วิชา การรู้จักวางเฉย การรู้จักออกจาก ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง จะทำให้มีทางที่ไปข้างหน้าดีได้ ไม่ทุกข์"
ย่อ
"การมีความสุขอย่างถูกต้อง ด้วยธรรมะ วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง จะทำให้มีทางที่ไปข้างหน้าดีได้ ไม่ทุกข์"

อันดับความสำคัญสูงสุดของเรา

"ควรให้อันดับความสำคัญสูงสุดของเราเป็นความถูกความดี
ไม่ควรให้อันดับความสำคัญสูงสุดของเราเป็นสมบัติรูป สมบัตินาม"

ใฝ่และปฏิบัติในความถูกความดี

"ใฝ่และปฏิบัติในความถูกความดี อย่างไม่เป็นกิเลส เป็นสิ่งที่ทำให้มีความสุขอย่างถูกต้อง"
"ใฝ่และปฏิบัติในความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง เป็นสิ่งที่ทำให้มีความสุขอย่างถูกต้อง"
"ใฝ่และปฏิบัติในความเพียร การรู้จักให้รู้จักรับ การรู้คุณแทนคุณ ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม ความตรง ความซื่อสัตย์ ความสุจริต ความเข้มแข็งอดทน ความจริง ความอิสระ อย่างถูกต้อง ไม่เป็นกิเลส"
"ใฝ่และปฏิบัติในความไม่เบียดเบียน ความไม่เป็นอธรรม"

แก้ปัญหามีแรง มีพลัง มีกำลังไม่พอ

"แก้ปัญหามีแรง มีพลัง มีกำลังไม่พอในการอยู่หรือในการทำงานโดยการมีและปฏิบัติธรรมะหลัก ธรรมฝ่ายดีงาม เว้นอธรรม"

ธรรมะหลัก คือ
- ความถูก ธรรมะ ทางสายกลาง
- ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม
- วิชา
- ความไม่เป็นกิเลส

การแก้ปัญหา ทำให้สงบสุข เรียบร้อย

การแก้ปัญหา ทำให้สงบสุข เรียบร้อย
"อธรรม ความไม่มีวิชา วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส ความไม่ใช่ทางสายกลาง จะเป็นต้นเหตุของปัญหา เป็นต้นเหตุของการเบียดเบียน เป็นต้นเหตุของความทุกข์"
"การทิ้งอธรรม ทิ้งวิชาที่ผิดที่ไม่ดีทั้งหมด การตัดอธรรม ตัดวิชาที่ผิดที่ไม่ดีทั้งหมด จะทำให้แก้ปัญหา ทำให้อยู่อย่างมีความสุข สงบสุข เรียบร้อย ไม่เดือดร้อน ไม่เบียดเบียน ไม่ทุกข์ได้"
"การไม่ให้อธรรม ความไม่มีวิชา วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส อยู่เหนือธรรมะ วิชา ความไม่เป็นกิเลส การไม่ยึด ติด พึ่ง พึ่งพา ใช้อธรรม ความไม่มีวิชา วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส ความไม่ใช่ทางสายกลาง จะทำให้แก้ปัญหา ทำให้อยู่อย่างมีความสุข สงบสุข เรียบร้อย ไม่เดือดร้อน ไม่เบียดเบียน ไม่ทุกข์ได้"
"การปฏิบัติความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง จะทำให้แก้ปัญหา ทำให้อยู่อย่างมีความสุข สงบสุข เรียบร้อย ไม่เดือดร้อน ไม่เบียดเบียน ไม่ทุกข์ได้"

การแก้ปัญหาด้วยธรรมะ
"ปัญหาทุกอย่าง สามารถแก้ได้ด้วยธรรมะ"
"การแก้ปัญหาด้วยธรรมะ แก้ที่ตนเองจะเป็นผลมากที่สุด"

ประโยชน์ของความตรง ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม

"การปฏิบัติความตรง ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม มีประโยชน์คือทำให้พ้นจากอธรรม ความผิดความไม่ดี ความหลงผิด ความหลง ความลำเอียง วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส ความไม่ใช่ทางสายกลาง ได้
ทำให้เกิดความถูกต้อง เกิดธรรมะ เกิดความเห็นที่ถูก เกิดธรรมฝ่ายดีงาม เกิดความดีงาม เกิดความยุติธรรม เกิดวิชา เกิดความไม่เป็นกิเลส เกิดทางสายกลาง ได้"
"การปฏิบัติความตรง ความเป็นกลาง ความเป็นธรรม มีประโยชน์คือทำให้ไม่สับสน ไม่วุ่นวาย ไม่ฟุ้งซ่าน ไม่เบียดเบียน ไม่ทุกข์ ไม่ทรมาน ไม่ได้ไม่ดี ได้
ทำให้มีความสุข สงบสุข เรียบร้อย ได้ดี ได้"

การใช้ไป

"การกระทำต่างๆ จะต้องใช้สมบัติรูปหรือสมบัตินาม วิชาไปอย่างมีสติ เพื่อให้ได้รับอย่างเพียงพอเหมาะสม ไม่เบียดเบียน"
"ควรใช้ไปให้เหมาะสมกับฐานะ สถานภาพ สิ่งที่มีอยู่ ด้วยความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ใช้สิ่งที่เรามีมากเกินพอไป เพื่อให้ได้สิ่งที่เราไม่มีหรือขาดมา"

การกระทำไป

"มีการกระทำไปให้เหมาะสมกับเนื้องานและผลงาน อย่างถูกหลักธรรม ถูกหลักธรรมฝ่ายดีงาม เป็นความดีงาม ถูกหลักวิชา รู้จักการวางเฉย ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง ไม่หย่อนเกิน ไม่ตึงเกิน"

ใช้ไป

ธรรมะ ๔
- ความถูก ธรรมะ ทางสายกลาง
- ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม
- วิชา
- ความไม่เป็นกิเลส

อธรรม ๔
- ความผิด อธรรม ความไม่ใช่ทางสายกลาง ความหย่อนเกินหรือตึงเกิน
- ธรรมฝ่ายชั่วร้าย ความชั่วร้าย
- ความไม่มีวิชา วิชาที่ผิดที่ไม่ดี
- กิเลส

"การใช้ไปแล้วไม่เป็นผลตามที่หวังหรือเสียเปล่า จะทำให้เราไปปฏิบัติอธรรม เพื่อไม่ให้การใช้ไปเสียเปล่า ซึ่งเป็นทางที่ผิด ไม่ควรปฏิบัติ"
"บริหาร จัดการการใช้ไปให้มีคุณ มีค่า มีประโยชน์ ไม่เสียการใช้ไปไปเปล่า โดยการไม่ปฏิบัติอธรรม ๔ ปฏิบัติธรรมะ ๔"

การใช้ไปเพื่อให้ได้รับทางธรรม

"ใช้ความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลสที่มีอยู่ไป ให้ได้รับมาเพียงพอต่อการใช้"

สิ่งที่ทำให้ดีขึ้นได้

"การไม่ปฏิบัติอธรรม ตัดอธรรม ถอนอธรรมทั้งหมด จะทำให้ดีขึ้นได้"
"การทิ้งอธรรม ทิ้งวิชาที่ผิดที่ไม่ดีทั้งหมด จะทำให้ดีขึ้นได้"
"การมีความสุขอย่างถูกต้อง ไม่เป็นกิเลส จะทำให้ดีขึ้นได้"

วันศุกร์ที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2566

กระจายธรรมะ เข้าหา

กระจายธรรมะ
"ควรกระจายธรรมะไปยังที่ต่างๆ อย่างถูกต้อง เหมาะสม"

เข้าหา
"เข้าหาความถูกต้อง ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ไม่เข้าหาความผิด อธรรม ธรรมฝ่ายไม่ดี ความไม่ดี วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส ความไม่ใช่ทางสายกลาง"
"ไม่เข้าหาสมบัติรูป สมบัตินาม อย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส"
"ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงามเป็นสิ่งที่ยั่งยืนกว่าสมบัติรูป สมบัตินาม"
ย่อ
"ควรเข้าหาความถูก ธรรมะ"

วันพุธที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2566

ทางที่ไปข้างหน้า

"การปฏิบัติความถูกต้องความดีเท่านั้น ไม่ปฏิบัติความผิดความไม่ดีเลย จะทำให้ทางที่ไปข้างหน้าดี"
"การไม่ปฏิบัติความผิดความไม่ดี กับการปฏิบัติความผิดความไม่ดี จะมีผลไม่เหมือนกัน"

วันจันทร์ที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2566

ความถูก

"ความถูกจะครบกว่าความผิด"
"เราหวังว่าความถูกจะมีแรงมากกว่าความผิด ความถูกจะชนะความผิด"
"มีความสุขจากความถูก"

วันอาทิตย์ที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2566

สมใจ สมปรารถนา

"สมใจ สมปรารถนาอย่างเป็นความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันศุกร์ที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2566

สิ่งที่ทำให้เป็นปกติ

สิ่งที่ทำให้เป็นปกติ คือ
- รักษาสุขภาพ ไม่โกงทางร่างกาย
- ไม่ติด
- มีอิสระอย่างไม่หย่อนเกิน ไม่ตึงเกิน มีอิสระอย่างถูกคลองธรรม เป็นวิชา ไม่เป็นกิเลส

การปฏิบัติสิ่งที่ทำให้เป็นปกติ จะสามารถทำให้ชดใช้กรรมหรือชดใช้หนี้ด้วยการกระทำความถูกความดีได้
การปฏิบัติสิ่งที่ทำให้เป็นปกติ จะสามารถทำให้ไม่เบียดเบียนกัน เกิดความสงบสุข เรียบร้อยได้

วันพุธที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2566

จิตใจเสียหาย รักษาจิตใจ

"จิตใจจะเสียหายจากความไม่เที่ยง"
"จิตใจจะเสียหายจากการปฏิบัติความผิด อธรรม ธรรมฝ่ายไม่ดี ความไม่ดี วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส ความไม่ใช่ทางสายกลาง"
"จะสามารถซ่อมแซมจิตใจที่เสียหาย หรือรักษา ทำให้จิตใจเป็นปกติ ไม่เสียหายได้โดยการปฏิบัติความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

วันเสาร์ที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2566

การมี ใช้ทักษะ วิชา ไม่รับสิ่งตอบแทนจากอธรรมหรือกิเลส

การมี ใช้ทักษะ วิชา
"มี ใช้ทักษะ วิชา ด้วยความไม่เป็นอธรรม"
"มี ใช้ทักษะ วิชา ด้วยความไม่เป็นกิเลส"

ไม่รับสิ่งตอบแทนจากอธรรมหรือกิเลส
"ไม่รับสิ่งตอบแทนจากการปฏิบัติอธรรมหรือกิเลส"
"ไม่รับสิ่งตอบแทนจากการเจาะระบบอย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส"

วันพฤหัสบดีที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2566

แปลงความสุขหรือสิ่งที่ได้รับ เนื้อของสิ่งที่ได้รับ

แปลงความสุขหรือสิ่งที่ได้รับ
"ปฏิบัติธรรมะนำ แล้วเราสามารถแปลงความสุขหรือสิ่งที่ได้รับที่ไม่เป็นอธรรมทางพื้นฐาน รูปหรือรูปธรรม อรูปหรือนามธรรม ไปเป็นความสุขหรือการได้รับทางธรรมอย่างเป็นวิชา มีขีดจำกัด ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลสได้ จะทำให้ถูกต้อง ดีอยู่ได้"
"สามารถแปลงความสุขหรือสิ่งที่ได้รับที่ไม่เป็นอธรรมทางพื้นฐาน รูปหรือรูปธรรม อรูปหรือนามธรรม ไปเป็นความสุขหรือการได้รับทางธรรม ได้โดยการปฏิบัติธรรมะ ปฏิบัติธรรม ปฏิบัติสมาธิ ใช้วิชา"
"เลือกวางเฉยไม่รับความสุขทางพื้นฐาน รูปหรือรูปธรรม อรูปหรือนามธรรม เลือกรับความสุขทางธรรมอย่างเป็นวิชา มีขีดจำกัด ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลสได้"
"ความสุขทางธรรมจะเบากว่า ละเอียดกว่า ประณีตกว่าความสุขทางพื้นฐาน รูปหรือรูปธรรม อรูปหรือนามธรรม"
"การรับความสุขหรือสิ่งต่างๆ ทางพื้นฐาน รูปหรือรูปธรรม อรูปหรือนามธรรม โดยตรงจะทำให้เสีย ผิด ไม่ดี หรือเกิดอธรรม เกิดกิเลสได้"
"สามารถรับความสุขหรือสิ่งต่างๆ ทางธรรม อย่างเป็นวิชา มีขีดจำกัด ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส ได้โดยตรง จะทำให้ถูกต้อง ดีอยู่ได้"

เนื้อของสิ่งที่ได้รับ
"สิ่งที่ได้รับจากเนื้อหยาบไปละเอียดเป็น สิ่งที่ได้รับทางพื้นฐาน สิ่งที่ได้รับทางรูปหรือรูปธรรม สิ่งที่ได้รับทางอรูปหรือนามธรรม สิ่งที่ได้รับทางธรรม ตามลำดับ"

การปรารถนาดี

"มีความปรารถนาดีต่อตนเองหรือผู้อื่น อย่างเป็นกลาง เป็นธรรม"
"มีความปรารถนาให้ตนเองหรือผู้อื่นไม่ได้ไม่ดี อย่างเป็นกลาง เป็นธรรม"
"มีการปรารถนาดีแล้ว ควรรู้จักการวางเฉยด้วย"

ย่อ
"มีความปรารถนาดี อย่างเป็นกลาง เป็นธรรม"
"มีความปรารถนาให้ไม่ได้ไม่ดี อย่างเป็นกลาง เป็นธรรม"
"มีการปรารถนาดีแล้ว ควรรู้จักการวางเฉยด้วย"

วันอังคารที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2566

การปฏิบัติ

"การปฏิบัติที่ควร คือ คิดธรรมะทั้งหมด คิดธรรมฝ่ายดีงามทั้งหมด คิดอธรรมทั้งหมด คิดกิเลสทั้งหมด แล้วเอาชนะอธรรมทั้งหมด เอาชนะกิเลสทั้งหมด ปฏิบัติธรรมะ ปฏิบัติธรรมฝ่ายดีงาม"

วันจันทร์ที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2566

ถูกดี ผิดไม่ดี

"ควรรู้ว่าสิ่งไหนเป็นสิ่งที่ถูกที่ดี คือถูกหลักธรรม ถูกหลักธรรมฝ่ายดีงาม ถูกหลักวิชา
รู้ว่าสิ่งไหนเป็นสิ่งที่ผิดที่ไม่ดี คือผิดหลักธรรม ผิดหลักธรรมฝ่ายดีงาม หรือผิดหลักวิชา"

"มีเป้าหมายเป็นสิ่งที่ถูกที่ดี ไม่มีเป้าหมายเป็นสิ่งที่ผิดที่ไม่ดี"
"ปรารถนาในสิ่งที่ถูกที่ดี ไม่ปรารถนาในสิ่งที่ผิดที่ไม่ดี"
"มีแรงผลักดันที่ถูกที่ดี ไม่มีแรงผลักดันที่ผิดที่ไม่ดี"
"เลือกในสิ่งที่ถูกที่ดี ไม่เลือกในสิ่งที่ผิดที่ไม่ดี"
"เข้าหาในสิ่งที่ถูกที่ดี ไม่เข้าหาในสิ่งที่ผิดที่ไม่ดี"
"ให้สิ่งที่ถูกที่ดีนำทางให้ ไม่ให้สิ่งที่ผิดที่ไม่ดีนำทางให้"
"ฝึกในสิ่งที่ถูกที่ดี ไม่ฝึกในสิ่งที่ผิดที่ไม่ดี"
"ตั้งหลักด้วยสิ่งที่ถูกที่ดี ไม่ตั้งหลักด้วยสิ่งที่ผิดที่ไม่ดี"
"ทำในสิ่งที่ถูกที่ดี ไม่ทำในสิ่งที่ผิดที่ไม่ดี"
"พึ่งพาในสิ่งที่ถูกที่ดี ไม่พึ่งพาในสิ่งที่ผิดที่ไม่ดี"
"รับในสิ่งที่ถูกที่ดี ไม่รับในสิ่งที่ผิดที่ไม่ดี"
"ให้ในสิ่งที่ถูกที่ดี ไม่ให้ในสิ่งที่ผิดที่ไม่ดี"
"ช่วยเหลือด้วยสิ่งที่ถูกที่ดี ไม่ช่วยเหลือด้วยสิ่งที่ผิดที่ไม่ดี"
"น้อมนำ นำพาในสิ่งที่ถูกที่ดี ไม่น้อมนำ ไม่นำพาในสิ่งที่ผิดที่ไม่ดี"

เตือน แก้ปัญหา

"ช่วยบอก เตือนกัน เพื่อไม่ให้ผิดพลาด
และช่วยกันแก้ปัญหา อย่างถูกต้อง ถูกคลองธรรม เป็นวิชา ไม่เบียดเบียนกัน ไม่เป็นอธรรมหรือไม่เป็นกิเลส"

วันอาทิตย์ที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2566

จิตที่ปกติ

จิตที่ปกติ ประกอบไปด้วย
- การจดจ่อกับสิ่งต่างๆ ทีละสิ่ง
- รับรู้สิ่งที่จดจ่อแต่ละสิ่ง
- ความอิ่มใจ
- ความสุข
- ความวางเฉย
- จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่งในแต่ละสิ่งที่จดจ่อ

วันศุกร์ที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2566

ปีติ

"ปีติ คือ ความอิ่มใจ ปีตินี้เป็นอาหารหล่อเลี้ยงใจ เกิดจากการปฏิบัติธรรม สมาธิ ธรรมฝ่ายดีงาม ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

ความผ่อนคลาย ไม่กระสับกระส่าย ไม่เครียด

"ความผ่อนคลาย ไม่กระสับกระส่าย ไม่เครียด โดยธรรมฝ่ายดีงาม การรู้จักวางเฉย วางใจเป็นกลาง รู้จักปล่อยวาง รู้จักออกจาก อย่างถูกหลักธรรม ถูกหลักวิชา ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"

ธรรมวิจัย

"ธรรมวิจัย คือ การเฟ้น หรือการเลือกเฟ้นธรรมะมาใช้ได้อย่างถูกต้อง ในเหตุการณ์หรือการกระทำต่างๆ"

ธรรมแห่งชัยชนะ

ธรรมแห่งชัยชนะ คือ ธรรมะ ๔
ชนะ หมายถึงชนะความผิดความไม่ดี กิเลส

ธรรมะ ๔ คือ
- ความถูก ธรรมะ ทางสายกลาง
- ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม
- วิชา
- ความไม่เป็นกิเลส

ไม่มุ่งไปทางเสื่อม มุ่งไปทางเจริญ
ควรเอาชนะอธรรมทั้ง ๒๕ ข้อ ได้ครบทุกข้อ แล้วไม่ปฏิบัติอธรรม

วันพุธที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2566

แนวติดลบ แนวศูนย์ แนวติดบวก

"ไม่ควรอยู่ในแนวติดลบ ควรอยู่ในแนวศูนย์ แนวติดบวก อย่างมีขอบเขตจำกัดตามกฎของธรรมชาติ ไม่เป็นกิเลส"
"ไม่ควรทำให้อยู่ในแนวติดลบ ควรทำให้อยู่ในแนวศูนย์ แนวติดบวก อย่างมีขอบเขตจำกัดตามกฎของธรรมชาติ ไม่เป็นกิเลส"

วันอังคารที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2566

อยากมี

"ควรอยากมี อย่างเป็นธรรมะ ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส
ควรเป็นกลาง อยากมีก็ไม่ใช่ ไม่อยากมีก็ไม่ใช่ อย่างเป็นธรรมะ ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส
ควรไม่อยากมี อย่างเป็นธรรมะ ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส"

วันอาทิตย์ที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2566

ถูกต้องดีงาม

"ไม่ปฏิบัติอธรรม ไม่ปฏิบัติกิเลส ตัดอธรรม ตัดกิเลส แล้วปฏิบัติความถูกต้องดีงาม"

วันศุกร์ที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2566

หลักการแยกแยะ

"ควรแยกแยะว่าสิ่งไหนถูก สิ่งไหนผิด สิ่งไหนดี สิ่งไหนไม่ดี แล้วตอบได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว ทันเวลา และปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง"

วันอังคารที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2566

ภายในเวลาที่จำกัด โอกาสที่จำกัด

"ควรกระทำภายในเวลาที่จำกัด ภายในโอกาสที่จำกัดตามกฎของธรรมชาติ"
"จะต้องหา เรียง ทำ สร้างภายในเวลาที่จำกัด ภายในโอกาสที่จำกัดตามกฎของธรรมชาติ"
"การใช้วิชา สามารถทำให้กระทำภายในเวลาที่จำกัด ภายในโอกาสที่จำกัดตามกฎของธรรมชาติได้"

วันจันทร์ที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2566

สิ่งที่ไม่ควรมีเหลือเก็บเอาไว้

"สิ่งที่ไม่ควรมีเหลือเก็บเอาไว้ คือ อธรรม บาป กิเลส"

การเชื่อถือ รับมาปฏิบัติ

"เชื่อถือในความถูก รับความถูกมาปฏิบัติ
ไม่เชื่อถือในความผิด ไม่รับความผิดมาปฏิบัติ"

ถูก หมายถึง ถูกหลักธรรม ถูกหลักวิชา
ผิด หมายถึง ผิดหลักธรรม ผิดหลักวิชา

วันอาทิตย์ที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2566

แยกแยะ ขีดจำกัดในเวลาต่างๆ

"ควรแยกแยะส่วนของตนเองและส่วนของผู้อื่นอย่างถูกต้อง ใช้ในส่วนของตนเอง ไม่ก้าวล่วงใช้ส่วนของผู้อื่น"
"การใช้ในส่วนของตนเองเป็นสิ่งที่ถูกต้อง มีคุณประโยชน์มาก"
"การใช้ในส่วนของตนเองทำให้รู้จักอิ่ม รู้จักพอ"
"ควรแยกแยะว่าสิ่งไหนถูก สิ่งไหนผิด สิ่งไหนเป็นของดี สิ่งไหนเป็นของไม่ดี แล้วตอบได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว ทันเวลา และปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง"
"การกระทำ ควรไม่เกินขีดจำกัดในเวลาต่างๆ ในอดีต ปัจจุบัน หรืออนาคต"
"การอยู่กับปัจจุบัน ไม่ควรเกินขีดจำกัดของที่เวลาปัจจุบัน"

วันเสาร์ที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2566

อุปสรรคต่อความถูกความดี

"อุปสรรคต่อความถูกความดี คือการติด"
"ไม่พึ่งพาการติดแล้ว สามารถพึ่งพาธรรมะ ๔ ได้"

สิ่งที่มักจะติด
- อธรรม
- ความหย่อนเกินหรือความตึงเกิน
- ความผิดความไม่ดี
- วิชาที่ผิดที่ไม่ดี
- กิเลส ความอยาก ความโลภ ความโกรธ ความหลง
- พื้นฐาน คือ รูป รส กลิ่น เสียง กายสัมผัส ทางใจ
- รูปธรรม
- นามธรรม
- ธรรม
- การโกง
- ชื่อเสียง หน้าตา

ธรรมะ ๔ คือ
- ความถูก ธรรมะ ทางสายกลาง
- ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม
- วิชา
- ความไม่เป็นกิเลส

วันศุกร์ที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2566

เริ่มต้น

"เมื่อเริ่มต้น สามารถเลือกธรรมะ ธรรมฝ่ายดีไม่มากนักมาปฏิบัติให้ถูกต้อง แล้วค่อยๆ เพิ่มขึ้นอย่างเป็นวิชา มีขีดจำกัด"

วันจันทร์ที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2566

การอยู่ที่ดีงาม

"การอยู่ที่ดีงาม เกิดจากการปฏิบัติธรรมฝ่ายดีงาม"
"ควรมีการอยู่ที่ดีงาม"

วันอาทิตย์ที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2566

รักษา กู้คืนกลับมา

"พยายามรักษาความถูกความดีที่มีอยู่เอาไว้ ด้วยธรรมะ ธรรมฝ่ายดี วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"กู้คืนความถูกความดีที่เคยมีอยู่ในอดีต ให้คืนกลับมาได้ ด้วยธรรมะ ธรรมฝ่ายดี วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"

การให้ชนะ พัฒนาตนเองเพื่อชนะ

การให้ชนะ
"ให้ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความถูกต้องดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลางชนะ"

พัฒนาตนเองเพื่อชนะ
"การพัฒนาตนเอง จะสามารถทำให้เอาชนะอธรรม กิเลส หรือปัญหาได้"

ปัญญา วิชา ความรู้สึกตัวทั่วพร้อม

"ปัญญา วิชา ความรู้สึกตัวทั่วพร้อม จะสามารถทำให้คิดและปฏิบัติธรรมะ คิดและปฏิบัติธรรมฝ่ายดีงามได้ สร้าง ทำให้สำเร็จสมหวัง ทำให้เกิดขึ้นมา ทำให้สิ้นสุดไป ตัดอธรรม ตัดกิเลส แก้ปัญหาได้ทุกปัญหา"
"การทำอะไรควรทำอย่างมีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม"

วันศุกร์ที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2566

ความถูก ความจริง เจตนา การกระทำ

"อยู่กับความถูก อยู่กับความจริง"
"กระทำความถูก ตามความเป็นจริง"

ความจริง คือ
- มีเจตนา
- มีการกระทำ
- มีกรรม
- มีหนี้
เจตนา การกระทำจะเป็นเหตุ กรรม หนี้จะเป็นผล

เจตนา การกระทำ
"สิ่งต่างๆ จะเริ่มต้นจากเจตนา แล้วตามด้วยการกระทำ"

"ไม่ควรมีเจตนา การกระทำเป็นความผิด อธรรม ธรรมฝ่ายไม่ดี ความไม่ดี วิชาที่ผิดที่ไม่ดี กิเลส ความไม่ใช่ทางสายกลาง"
"ไม่ควรมีเจตนา การกระทำเป็นความอยาก ความโลภ ความอยากมี ความโลภมี อย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส"

"ควรมีเจตนา การกระทำเป็นความถูก ธรรมะ ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม วิชา ความไม่เป็นกิเลส ทางสายกลาง"
"ควรมีเจตนา การกระทำที่ถูกที่ดี และมีเจตนา การกระทำที่เป็นกลาง"

วันพฤหัสบดีที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2566

วันอังคารที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2566

ใช้ทักษะวิชาที่ถูกที่ดี

"ทักษะวิชาที่ถูกที่ดี คือธรรมฝ่ายดีงาม"
"การใช้ทักษะวิชาที่ถูกที่ดีจะทำให้ตนเองหรือผู้อื่นถูกต้องมากขึ้น ดี รู้จักช่วยเหลือตนเอง รู้จักช่วยเหลือกัน รู้รักษาตน รู้รักษาผู้อื่น เจริญ มีใช้ สร้างความสุข ทำให้มีความสุข ไม่ทุกข์ ไม่เบียดเบียนกัน ไม่ทำร้ายกัน ไม่เอาเปรียบกัน ไม่แย่งกัน เป็นธรรม แก้ปัญหาได้ เพิ่มเติมพลัง ทำให้สำเร็จ สมหวังได้ อย่างเป็นกลาง ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง"

วันอาทิตย์ที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2566

หลักธรรมะ

ธรรมะ ๔
- ความถูก ธรรมะ ความว่าง ทางสายกลาง
- ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม
- วิชา
- ความไม่เป็นกิเลส

อธรรม ๔
- ความผิด อธรรม ความไม่ใช่ทางสายกลาง ความหย่อนเกินหรือตึงเกิน
- ธรรมฝ่ายชั่วร้าย ความชั่วร้าย
- ความไม่มีวิชา วิชาที่ผิดที่ไม่ดี
- กิเลส

ไม่ปฏิบัติอธรรม ๔ ปฏิบัติธรรมะ ๔
มีสติในการไม่ปฏิบัติอธรรม ๔ ปฏิบัติธรรมะ ๔
ใช้ทักษะในการปฏิบัติธรรมะ ๔
ธรรมะ ๔ เป็นธรรมที่ทำให้ถูก ดี ได้ดี ไม่ได้ไม่ดี มีความสุขอย่างถูกต้อง ไม่ทุกข์ได้
ธรรมะ ๔ เป็นธรรมที่ทำให้เป็นอิสระได้
ธรรมะ ๔ เป็นทางเจริญ รุ่งเรือง
ธรรมะ ๔ เป็นธรรมที่ทำให้ชนะ
ธรรมะ ๔ เป็นธรรมที่ทำให้สงบสุข เรียบร้อยได้
ธรรมะ ๔ เป็นสิ่งที่คุ้มครองผู้ปฏิบัติได้
ควรเก็บธรรมะ ๔ เอาไว้ในใจ เพื่อนำไปปฏิบัติ จะทำให้ดีขึ้นได้
ไม่เป็นแนวติดลบ เป็นแนวศูนย์ หรือเป็นแนวติดบวก ได้โดยธรรมะ ๔

ธรรมะหลัก ธรรมฝ่ายดีงาม เป็นบารมีที่ถูกที่ดี
ธรรมะ ๔ ธรรมฝ่ายดีงาม เป็นธรรมที่ทำให้มีแรง มีพลัง มีกำลังเพียงพอ

วันพฤหัสบดีที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2566

ธรรมที่ทำให้เจริญ รุ่งเรือง

ธรรมที่ทำให้เจริญ รุ่งเรือง มีคุณ มีค่ามาก คือ
- ความถูก ธรรมะ ทางสายกลาง
- ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม
- วิชา
- ความไม่เป็นกิเลส

วันอังคารที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2566

แก้กรรม แก้หนี้

ในการแก้กรรม แก้หนี้ ด้วยธรรมะ จะต้องชนะอธรรม ไม่มีเจตนากลับไปทำผิดทำไม่ดีนั้นๆ อีกในตอนยังไม่หมดกรรม ไม่หมดหนี้นั้นๆ แล้วชดใช้กรรม ชดใช้หนี้ด้วยการปฏิบัติธรรม ๔ ข้อ ให้เพียงพอ คือ
- ความถูก ธรรมะ ทางสายกลาง
- ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม
- วิชา
- ความไม่เป็นกิเลส

บทความที่ได้รับความนิยม